แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3
|
1
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: เรือใบสุริยะ
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:50:39 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
เรื่อใบสุริยะ ทำจากกระจกขนาดใหญ่สำหรับสะท้อนแสง ที่มาจากดวงอาทิตย์ เพราะจำนวนของโพตอนมีมาก และพุ่งเข้าชนใบจึงเกิดโมเมนต์ตัมและแรงกระทำกับใบอยู่ตลอดเวลา ทำให้เรือใบวิ่งไปข้างหน้าด้วยความเร่ง ถึงแ้ม้แรงที่เกิดจากดวงอาทิตย์จะได้น้อยกว่าแรงที่เกิดจากจรวดหรือกระสวยอวกาศ แต่ว่าเรือใบจะได้รับแรงอยู่เรื่อย ๆ ตาบที่แสงอาทิตย์ยังไม่หมดไป ลักษณะของเรือใบสุริยะ - ใบมีขนาดใหญ่ เพื่อเก็บพลังงานของแสงให้ได้มากที่สุด - น้ำหนัดเบา มวลน้อย ทำให้อัตราเร่งเกิดขึ้นได้สูง - ทนทาน ต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ประจุไฟฟ้าและฝุ่นผงในอวกาศ
|
|
|
2
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: กล้องมองในความมืด (night vision)
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:42:03 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
กล้องมองในที่มืด มีลักษณะการใช้งานหลากหลาย เช่น กล้องส่อง สามารถติดเข้ากับปืน เครื่องยิงจรวด ใช้เลนซ์เพียงอันเดียวดังรูป แว่นตากูเกิล ใช้สวมเข้ากับศีรษะ เป็นแว่นแบบสองตา ช่วยให้เกิดความสะดวกกับผู้ใช้ เมื่อต้องเดินไปที่มืดเพื่อค้นหาศัตรู กล้องวีดีโอ เหมาะสำหรับจับพวกขโมย และย่องเบา กล้องจะมีมอเตอร์หมุนกวาดไปทั่วบริเวณ ว่าบริเวณใดมีความร้อน ส่วนใหญ่อุปกรณ์พวกนี้จะติดไว้ที่หน้าประตู หรือซุกไว้ไม่ให้ผู้ไม่หวังดี
|
|
|
4
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ / Re: การทดลองเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:16:09 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาตอบคำถาม
1.คลื่นที่โพลาไรท์ กับไม่โพลาไรท์ มีลักษณะอย่างไร ตอบ คลื่นที่โพลาไรท์ มีระนาบของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ในระนาบเดียวกันทั้งหมดและตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ คลื่นที่ไม่โพลาไรท์ ได้แก่ คลื่นแสง มีสนามไฟฟ้าอยู่หลายทิศทาง
2.ทำไมสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้า จึงตั้งฉากกัน ตอบ เพราะ สนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าแปรค่าตามตำแหน่งพิกัด และเวลาทำให้ค่าของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าเปลี่ยน จึงตั้งฉากซึ่งกันและกัน
3.แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใช่หรือไม่จงอธิบายเหตุผล ตอบ แสงไม่เป็นคลื่นแม่เหล็ก เพราแสงเป็นคลื่นที่ไม่โพลาไรท์ มีสมบัติเคลื่นที่ผ่านผลึก เช่น แผ่นโพลารอยด์
|
|
|
5
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ / Re: ประวัติของ มาร์โคนี
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:13:51 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา จากการค้นพบของเฮิร์ทไม่นาน มาร์โคนี จึงเกิดจินตนาการเขาได้สร้างเครื่องรับ ส่งวิทยุอย่างง่ายๆ ไว้ในห้อง ต่อมาเขาเห็นความสำคัญของการค้นพบนี้ จึงเดินทางไปลอนดอนใน เขาส่งสัญาณจากสถานีหนึ่ง บนฝั่งด้านใต้ไปยังสถานีในฝรั่งเศสซึ่งไกลออกไป50กิโลเมตรและที่ระย120 กิโลเมตร สำเร็จเจ้าของเรื่อเริ่มติดตั้งเครื่องมาร์โคนี ในเรือเดินทะเลของเขา หลายคนรู้สึก ประทับใจเมื่อเรือที่กำลังเดินทางในกู๊ดวินแซนด์ในทะเลเหนือได้รับการเตือนให้ทราบ ถึงภัยอันตรายด้วยคลื่อนวิทยุจากมาร์โคนี ทำให้เรือกับลูกเรือทุกคนปลอดภัย
|
|
|
6
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ / Re: เครื่องรับวิทยุ
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:06:43 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
ในการใช้ วิทยุสมัยใหม่ เพื่อใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ ส่งข้อมูลข่าวสาร เสียง ภาพ และข้อมูล ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
7
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ / Re: ประวัติของ เจมส์ คลาร์ก แมเวล : James Clark Maxwell
|
เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 02:03:00 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 18/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา แมกเวลจบการศึกษาขั้นต้นแล้ว เขาได้เข้าเรียนต่อวิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยเอดินเบิร์ก (Edinburg University)ในระหว่างที่เขาศึกษาอยู่ที่นี่ เขาได้รู้จักกับนักฟิสิกส์ท่านหนึ่ง วิลเลี่ยม นิคอน (William Nikon) ซึ่งค้นคว้าเกี่ยวกับแสง เพื่อใช้สำหรับการถ่ายภาพเขาได้ประดิษฐ์ปริซึมแบบพาราโบลาขึ้นมา แมกเวลได้พบว่าแม่สีของแสงมี 3 สี ได้แก่ แสงสีแดง เขียว และน้ำเงิน ซึ่งทฤษฎีนี้ได้นำมาใช้เกี่ยวกับการอัดภาพสี ทำงานอยู่ที่นี่ได้ประมาณ 5 ปี ก็ลาออก และย้ายไปอยู่ที่เมืองเคนซิงต้น (Kensingtion) ประเทศสก็อตแลนด์ เพื่อทำการทดลองเกี่ยวกับก๊าซ ในเรื่องของการเคลื่อนที่ ความเร็ว และทิศทางการฟุ้งกระจายของก๊าซ โดยแมกเวลได้ทำการ ศึกษาก๊าซที่ละชนิดที่อยู่ในภาชนะ และนอกภาชนะ จากการทดลองแมกเวลได้ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับพลังงานจลน์ของก๊าซขึ้น แต่ด้วยในขณะนั้นมีนักวิทยาศาสตร์อีกท่านหนึ่ง ชื่อ ลุดวิค โบลทซ์มาน (Ludwig Boltzmann) ได้ทำการค้นคว้าทดลอง และได้ผลสรุปเช่นเดียวกับแมกเวล จึงมีชื่อเรียกทฤษฎีแห่งพลังงานจลน์นี้ว่า "ทฤษฎีแห่งพลังงานจลน์แมกเวล - โบลทซ์มาน ของก๊าซ (Kinetic Maxwell - Boltzmann Theory of Gas)" เข้าได้นำหลังการเดียวกันนี้มาทดลองเกี่ยวกับความร้อน ขึ้นบ้าง และค้นพบ ทฤษฎีพลังงานจลน์ของความร้อน (Kinetic Theory of Heat) ในเวลาต่อมา
|
|
|
8
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:18:55 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
เลือกทำสิบข้อ ทำได้หกสิบคะแนน
|
|
|
9
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: สารกึ่งตัวนำ
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:13:50 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาสรุปได้ว่า สารกึ่งตัวนำ มีคุณสมบัติอยู่ระหว่าง ตัวนำไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า จึงเป็นสารที่เราสามารถควบคุมคุณสมบัติการนำไฟฟ้าของมันได้ สารกึ่งตัวนำที่มีคุณสมบัติพิเศษที่แตกต่างจากตัวนำและฉนวน คือ การนำไฟฟ้าของวงจรของสารกึ่งตัวนำจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อุณหภูมิ,แสงที่ตกกระทบ,ปริมาณสารเจือปน,ปริมาณของจุดบกพร่องในเนื้อสาร
|
|
|
10
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: ชอคลีย์ บราตเตน และบาร์ดีน
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:12:59 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ปัจจุบันทรานซิสเตอร์กำลังถูกผลิตเป็นจำนวนล้าน ๆ แม้กระทั่งใช้ขยายสัญญาณในวิิทยุและช่วยในการได้ยิน ใช้เปิดและปิดวงจรในระบบโทรศัพท์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ แม้กระทั่งใช้กระตุ้นการเต้นของหัวใจมนุษย์ สิ่งสำคัญยิ่งกว่าประโยชน์ของทรานซิสเตอร์ก็คือ นักวิทยาศาสตร์ ชอคลีย์ บราตเตน และบาร์ดีน ทั้งสามท่านในชุดนี้ได้เปิดเผยความรู้มูลฐานเกี่ยวกับ "โครงสร้างของของแข็งและพฤติกรรมทางไฟฟ้าของอะตอมบนพื้นผิวของธาตุบางชนิด ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์ทั้งสามท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2499 " แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล บันทึกการเข้า
|
|
|
11
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ตารางธาตุ
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:12:16 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตารางธาตุ ในการทดลองมีการแบ่งกลุ่มของธาตุแต่ละชนิดตามคุณสมบัติของธาตุนั้น ๆ ธาตุ Halogone คือ ธาตุ F Cl Br l At ธาตุที่มี Atomic Number 92 คือ ธาตุ U ( Uranium ) เขียน elector configuration ได้เป็น [ Rn]5f<3>6d<1>7s<2>
|
|
|
12
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: แผ่นใสเรื่อง electronic
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:11:23 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาการควบคุมความสามารถนำไฟฟ้าในผลึกซิลิกอนจึงทำได้โดยการโดปธาตุอื่นเข้าไป ทำให้เกิดความไม่บริสุทธิ์ในตัวผลึกซึ่งสามารถโดปได้ 2 แบบ 1. N-Type doping ทำให้ผลึกซิลิคอนกลายเป็นตัวนำโดยการเติม P หรือ As ลงไป 2. P-Type doping ทำให้ผลึกซิลิคอนขาดอิเล็กตรอนไป 1 ตัว โดยการเติม B หรือ Ga ลงไป Diode เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างง่าย มีสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ทางเดียวในทิศทางการไบบแอสตรง - สำหรับซิลิคอนไดโอด จะเริ่มนำกระแสที่แรงดันตกคร่อม 0.6 โวลต์ - เจอมาเนียมไดโอด จะเริ่มนำกระแสที่แรงดันตกคร่อม 0.2 โวลต์ ประโยชน์ของไดโอด - ใช้ป้องกันไม่ให้เครื่องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงเสียหายหากต่อแหล่งกำเนิดผิดขั้ว ซึ่งจะทำให้วงจรไม่มีกระแสไหล - ใช้เป็นสวิตช์ในวงจรแบตเตอรี่ที่ต่อค้างอยู่ เช่น วงจรหลอดไฟฟ้าในจักรยานหากไดนาโมหมุนจะผลิตแรงดันไฟสูงกว่าแบตเตอรี่
|
|
|
13
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียง
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:10:37 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาหลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
14
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: วีดีโอเรื่อง คอมพิวเตอร์
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:09:53 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา คอมพิวเตอร์มีความสำคัญต่อโลกปัจจุบันมาก ชายสองคนกำลังสร้างคอมพิวเตอร์และพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ มี 5 ยุค มีตั้งแต่ใช้หลอดสุญญากาศ จนถึงปัจจุบันที่พัฒนาจากเดิมไปมาก ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ผู้คนมากมาย ปัจจุบันคนใช้คอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก ทำให้โลกของเราไร้พรมแดน
|
|
|
15
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: ลอจิกเกต (LOGIC GATE)
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:09:20 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
PLC ทำงานด้วยหลักการของ binary คือ เป็นอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 สถานะ เช่น สูง หรือ ต่ำ ปิด หรือ เปิด 0 หรือ 1 เกตเป็นสัญลักษณ์ของวงจรที่ใช้แทนลอจิก ระบบที่เรียกว่า พีชคณิตบลูลีน ใช้แสดงอินพุต และ เอาท์พุต เกตมีพื้นฐานดังนี้ 1. อินเวอร์เตอร์ 2. แอนด์เกต
|
|
|
16
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: ลอจิกเกต (LOGIC GATE)
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:08:37 pm
|
PLC ทำงานด้วยหลักการของ binary คือ เป็นอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 สถานะ เช่น สูง หรือ ต่ำ ปิด หรือ เปิด 0 หรือ 1 เกตเป็นสัญลักษณ์ของวงจรที่ใช้แทนลอจิก ระบบที่เรียกว่า พีชคณิตบลูลีน ใช้แสดงอินพุต และ เอาท์พุต เกตมีพื้นฐานดังนี้ 1. อินเวอร์เตอร์ 2. แอนด์เกต
|
|
|
17
|
ฟิสิกส์ 2 / ทรานซิสเตอร์ / Re: มนุษย์อวกาศบนปฐพี
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:08:06 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาสารกึ่งตัวนำ มีความหมายว่าจะเป็นตัวนำก็ไม่ใช่ หรือจะเป็นฉนวนก็ไม่เชิง คุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำอยู่ระหว่างการนำไฟฟ้าและเป็นฉนวนวัสดุกึ่งตัวนำเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ไฟฟ้าเกือบทุกชนิด เช่น เครื่องขยายเสียง วิทยุ หรือเทปคาสเซ็ท ล้วนใช้อุปกรณ์ที่ทำจากทรานซิสเตอร์หรือไดโอด โดยไดโอดทำหน้าแปลงไฟฟ้ากระแสสลับซึงเป็นไฟบ้านให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า สารกึ่งตัวนำ N และ P กระบวนการที่ใส่สารเจือปนลงในวัสดุสารกึ่งตัวนำเราเรียกว่าการโดปปิ้งสารกึ่งตัวนำที่โดปด้วยสารเจือปน และมีอิเล็กตรอนอิสระเหลือในชั้นนอกสุด เราเรียกว่า สารกึ่งตัวนำชนิด N สารกึ่งตัวนำที่เติมสารเจือปนและทำให้เกิดโฮลขึ้น มีประจุไฟฟ้าบวก เพราะว่าขาดอิเล็กตรอนไป พร้อมที่จะไปดึงอิเล็กตรอนจากที่อื่นมาเติม เราเรียกว่า สารกึ่งตัวนำชนิด P แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล บันทึกการเข้า
|
|
|
18
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: Michael Faraday ไมเคิล ฟาราเดย์
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:04:38 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาเป็นชาวอังกฤษ มีความสนใจโดยเฉพาะวิชาที่เกี่ยวกับไฟฟ้าและได้ทดลองด้วยตนเอง และมีโอกาสเข้าทำงานและได้ศึกษาวิชาทางวิทยาศาสตร์จากเซอร์ฮัมฟรีย์จนเกิดความชำนาญในปี 1821ขณะที่ทำการทดลองเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้าเขาพบปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่กระแสไฟฟ้าเดินตามเส้นลวดแล้วทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กรอบๆเส้นลวดกระแสนี้เมื่อนำเอาเข็มแม่เหล็กไปวางไว้ใกล้กระแสนี้ก้จะหมุนไปเรื่อยๆด้วยหลักอันนี้ฟาราเดย์จึงทดลองประดิษฐ์ไดนาโมเล็กๆนั้นขึ้นอันเป็นต้นกำเนิดของไดนาโมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
|
|
|
19
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 01:03:44 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
เลือกทำห้าข้อ ททำได้ สองข้อครับ
|
|
|
20
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: การทดลองเสมือนเรื่องการสั่นในวงจร LC
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:59:17 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาในห้องทดลองนี้ เป็นวงจรไฟฟ้าสลับแบบง่าย ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ เมื่อ C จ่ายไฟให้ L Lจะแสดงอำนาจของสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อประจุ C น้อยลง สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับขดลวด เกิดเป็นกระแสไฟฟ้าไปชาร์จไฟใน C อีกครั้ง วนเช่นนี้
|
|
|
21
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง การเกิดเรโซแนนท์ในวงจร RLC อนุกรม
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:58:05 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
ในวงจรรีโซแนนท์ RLC อนุกรม และมีแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับให้กับวงจร สรุปได้ว่า - ตัวเก็บประจุจะตอบสนองความถี่สูงๆๆได้ดี (ค่าความจุน้อยๆ) - ขดลวดตัวเหนี่ยวนำจะตอบสนองความถี่ต่ำได้ดี
|
|
|
22
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: วีดีโอเรื่อง กัลวานอมิเตอร์(Galvanometer)
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:57:17 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเสมือนขดลวดเป็นแม่เหล็กเสียเองและผลักดูดกับแม่เหล็กถาวรที่ล้อมขดลวดอยู่ เข็มที่ติดกับขดลวดจะเบนตามไปด้วย แต่จะเบนมากน้อยตามขนาดกระแส กระแสไฟฟ้านั้นเกิดจากการเหนี่ยวนำ หรือ Inductor เกิดจากการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างแท่งแม่เหล็กกับขดลวด ตามกฎมือขวาของฟาราเดย์ซึ่งใช้นิ้วชี้แทนทิศเส้นแรงแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือแทนทิศการเคลื่อนที่ของเส้นลวด ส่วนการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้านั้นจะไหลไปตามทิศทางของนิ้วกลางและจะสัมพันธ์กันเช่นนี้เสมอ
|
|
|
23
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: แผ่นใสเรื่อง กระแสสลับ
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:55:56 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาแรงเคลื่อนไฟฟ้า e จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมีทิศกลับไปมาอยู่เรื่อยๆ เป็นผลให้กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมีค่าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีทิศทางการไหลกลับไปมาสลับกันอยู่ตลอดไป จึงเรียกว่าไฟฟ้ากระแสสลับ โดยวงจรไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วยเครื่องกำเนิดกระแสสลับและส่วนประกอบอีก 3 อย่างคือ 1. ตัวต้านทาน (resistor) 2. ตัวจุ (capacitor) 3. ตัวเหนี่ยวนำ (inductor
|
|
|
24
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้ากระแสสลับ / Re: เทสลาบอล
|
เมื่อ: มกราคม 10, 2011, 12:54:55 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 8 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 10/01/2554 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาเทสลาคอยส์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สองสร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำคือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้าและความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนท์ขึ้น ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุและค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนความถี่เท่ากับอันที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปขดลวดที่สอง ทำให้มีแรงดันไฟฟ้าที่จะสปาร์กออกจากปลายขดลวด
|
|
|
25
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: แผ่นใสเรื่อง ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 01:03:53 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
สรุปได้ว่า การเหนี่ยวนำไฟฟ้า คือ อัตราการเปลี่ยนฟลักช์แม่เหล็กที่ผ่านวงจรหนึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าในอีกวงจรหนึ่งที่อยู่ใกล้ ผลคือ เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้น และมีผลสืบเนื่องเกี่ยวกับความเหนี่ยวนำ ที่ขึ้นอันตรกิริยาระหว่างวงจรทั้งสอง 1. กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของ Faraday “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในวงจรใดๆ มีค่าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กผ่านวงจรนั้นเทียบกับเวลา” 2. กฎการเหนี่ยวนำไฟฟ้าของ Lenz “แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเกิดในทิศทางที่ส่งผลต้านการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กที่เป็นต้นกำเนิดของมัน” 3. สภาพเหนี่ยวนำ (Inductance) กระแสที่ไหลผ่านขดลวดโซลินอยด์ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กภายในฟลักซ์แม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำในทิศทางต้านการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้า
|
|
|
26
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง กฏการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 12:58:49 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
1 จาการทำการทดลองเลื่อนคอยส์ลงสังเกตเห็นว่าเข็มของวานอมิเตอร์จะขยับมาทางด้นลบส่วนลูกศรสีเหลืองตรงที่ขดลวดใหญ่ลูกศรจะชี้กลับไปทางคอยส์ซึ่งสวนทางกันกับกระแสไฟฟ้าที่อยู่ขดลวดเล็ก และกระแสไฟฟ้ายังมีตลอด 2 จาการทำการทดลองเลื่อนคอยส์ขึ้นสังเกตเห็นว่าเข็มของวานอมิเตอร์จะขยับมาทางด้นบวกส่วนลูกศรสีเหลืองตรงที่ขดลวดใหญ่ลูกศรจะชี้กลับไปทางด้านเดียวกันกับทิศทางการไหลของกระแส แต่ในครั้งนี้จะไม่มีกระแสไฟฟ้าที่ขดลวด
ปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตกระแสไฟฟ้ามีอยู่ 3 ข้อ คือ 1.จำนวนรอบของขดลวดอาร์เมเจอร์ ยิ่งจำนวนขดลวดมากยิ่งผลิตกระแสได้มาก 2.ความเข้มของสนามแม่เหล็ก ยิ่งความเข้มมากยิ่งผลิตกระแสไฟฟ้าได้มาก 3.ความเร็วรอบของขดลวดอาร์เมเจอร์ ยิ่งความเร็วรอบมากยิ่งผลิตกระแสไฟได้มาก
|
|
|
27
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: การสั่นในวงจร LC
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 12:55:17 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมาสรุปได้ว่า เมื่อตัวเก็บประจุมีประจุอยู่เต็มจะมีพลังงานสะสมอยู่ Qmax ยกกำลัง 2 /2C ที่เวลาดังกล่าวกระแสจะเป็นศูนย์จึงไม่มีพลังงานสะสมในตัวเหนี่ยวนำ เมื่อตัวเก็บประจุเริ่มคายประจุ พลังงานที่สะสมอยู่ในสนามไฟฟ้าเริ่มลดลงในเวลาเดียวกันนี้ กระแสจะเริ่มไหลทำมีการสะสมพลังงานในสนามแม่เหล็กของตัวเหนี่ยวนำ
|
|
|
28
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: มอเตอร์
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 12:49:50 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
เครื่องใช้ไฟฟ้าเกือบทุกประเภทล้วนต้องใช้มอเตอร์ไฟฟ้าแทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรงที่เราติดปากเรียกว่า มอเตอร์ไฟ AC และ มอเตอร์ DC คุณต้องการจะเข้าใจการทำงานของมอเตอร์ คุณต้องเรียนรู้ธรรมชาติของแม่เหล็ก แม่เหล็กไฟฟ้าและแรงแม่เหล็กที่เกิดจากการไหลของกระแสไฟฟ้า มอเตอร์จะมีใช้อยู่เกือบทุกที่ภายในบ้าน ส่วนประกอบของมอเตอร์ เริ่มต้นง่ายๆจากมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2 ขั้ว ซึ่งส่วนประกอบพื้นฐานมีอยู่ 6 ชิ้น 1.อาร์เมเจอร์หรือโรเตอร์ (Armature หรือ Rotor) 2.คอมมิวเตเตอร์ (commutator) 3.แปรง 4.เพลา 5.แม่เหล็ก 6.เครื่องจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง DC มอเตอร์ไฟฟ้าใช้แรงของแม่เหล็ก ธรรมชาติของแม่เหล็ก ถ้าขั้วแม่เหล็กเหมือนกันจะผลักกัน แต่ถ้าขั้วต่างกันจะดูดกัน แม่เหล็กไฟฟ้ากับมอเตอร์เราต้องการจะเข้าใจการทำงานของมอเตอร์ จะต้องเข้าใจและศึกษาแม่เหล็กไฟฟ้าเสียก่อน เพราะแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพื้นฐานของมอเตอร์ไฟฟ้า ( Armature) คือขดลวดหนึ่งหรือหลายขด ซึ่งหมุนอยู่ในไดนาโมหรือมอเตอร์ไฟฟ้า มักหมายรวมถึงอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือโวลเตจเหนี่ยวนำ เกิดขึ้นจากการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก เช่นในหัวเข็มของเครื่องเล่นแผ่นเสียง ส่วนที่เป็นแม่เหล็กไฟฟ้าในลำโพงเครื่องขยายเสียง รีเลย์เป็นต้น) เมื่อคุณนำส่วนประกอบทั้งหมดมาประกอบเข้าด้วยกัน มันคือมอเตอร์ไฟฟ้า
|
|
|
29
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: ทดสอบก่อนและหลังเรียน
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 12:48:40 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เลือกทำ 5 ข้อ ทำได้ 4 ข้อ
|
|
|
30
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: อแดปเตอร์แปลงไฟขนาดเล็ก (Adaptor)
|
เมื่อ: ธันวาคม 16, 2010, 12:41:04 pm
|
นายดนุพร อ่อนศรี รหัส 115040472024-7 sec.02 เลขที่ 72 ภาควิชาวิศวกรรมพลาสติก ตอบกระทู้ที่บ้านซอยอิสเทิล วันที่ 16/12/2553 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา
จะเห็นขดลวดอยู่ 2 อัน อันแรกเป็นขดลวดชุดแรก อันที่สองเรียกว่าขดลวดชุดที่สอง ไฟฟ้าสลับขนาด 220 โวลต์ จะเข้ามาที่ขดลวดชุดแรก และเหนี่ยวนำให้ขดลวดชุดที่สองเกิดกระแสไฟฟ้าสลับขึ้น เป็นไปตามกฎทางฟิสิกส์ที่ว่า ถ้าจำนวนขดลวดทั้งสองเท่ากัน ไฟฟ้าที่ไหลเข้าจะเท่ากับไฟฟ้าที่ไหลออก แต่ถ้าขดแรกพันมากกว่าขดที่สองเป็นจำนวน 2 เท่า แรงดันไฟฟ้าที่ขดลวดชุดที่สองจะลดลงครึ่งหนึ่ง ดังนั้นถ้าต้องการให้ไฟบ้านลดลงเหลือ 3 โวลต์ ขดลวดชุดแรกจะต้องมีจำนวนมากกว่าชุดที่สองอยู่ 73 เท่า
|
|
|
|