แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3 4
|
1
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:48:16 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.48 น. ที่วิทยบริการ ในปี ค.ศ. 1914 ได้มีการทดลองแสดงให้เห็นว่าสถานะนิ่งที่เป็นค่า ๆ ของอิเล็กตรอนในอะตอม (ตามสมมติฐานของบอร์) นั้นมีอยู่จริง จากการทดลอง ของแฟรงค์และเฮิรตซ์ รูปล่าง แสดงการจัดเครื่องมือการทดลองเมื่ออิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจากไส้หลอดที่ร้อน F จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่น P ระหว่าง F และ P มีกริด G กั้นอยู่ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่จาก F ไป G จะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ V0 แต่เมื่อเคลื่อนที่จาก G ไป P มีศักย์หน่วง (retarding potential) Vr ซึ่งมีค่าเพียงเล็กน้อย อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก F ไป P ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล Ip วัดได้ด้วยแอมมิเตอร์ A ความเร็วของอิเล็กตรอนหลังจากถูก ปล่อยออกมาจาก F และเคลื่อนที่มาถึง G คือ 1/2 〖mv〗^2
|
|
|
2
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: วีดีโอเรื่อง ต้นกำเนิดของแสงเลเซอร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:37:58 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.37 น. ที่วิทยบริการ แสงเลเซอร์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความยาวคลื่นใดความยาวคลื่นหนึ่งในแถบสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งอาจอยู่ในช่วงระหว่างรังสีอินฟาเรดถึงรังสีอุลตร้าไวโอแลตรวมตลอดความยาวคลื่นของแสงที่มองเห็น สารที่นำไปใช้ผลิตแสงเลเซอร์มี 4 ประภทคือ เลเซอร์แก๊ส เลเซอร์ของเหลว เลเซอร์ของแข็ง เลเซอร์ไดโอด
|
|
|
3
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การหักเหของแสงผ่านเลนส์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:21:22 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.21 น. ที่วิทยบริการ เลนส์ คือ วัตถุโปร่งใสที่บริเวณกลางเลนส์ และขอบเลนส์มีความหนาแตกต่างกัน เมื่อแสงเดินทางจากอากาศผ่านเข้าไปในเลนส์ จะเกิดการหักเหของแสงที่ผิวเลนส์ลักษณะของเลนส์นูนและเลนส์เว้า 1. เลนส์นูน คือ เลนส์ที่มีลักษณะบริเวณกลางเลนส์หนากว่าบริเวณขอบ 2. เลนส์เว้า คือ เลนส์ที่มีลักษณะบริเวณกลางเลนส์บางกว่าบริเวณขอบ
|
|
|
4
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: โพลาไรเซชั่น physics2000
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:14:36 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.14 น. ที่วิทยบริการ โพลาไรท์ฟิลเตอร์ หรือแผ่นกรองโพลาไรท์หรือเรียกทับศัพท์เลยว่า แผ่นโพลารอยท์ ช่างถ่ายรูป และแว่นกันแดดนำไปใช้ลดแสงสะท้อน และยังถูกนำไปใช้ในเครื่องคิดเลข นาฬิกาดิจิตอล และจอแบนแบบแอลซีดีโพลาไรเซชั่นเป็นปรากฎการณ์ที่เห็นได้บ่อยในชีวิตประจำวัน อาศัยหลักการพื้นฐานฟิสิกส์ของแสง นิยมใช้ในแว่นกันแดด นาฬิกาดิจิตอล และจอแบนแอลซีดีของคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
|
|
|
5
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: จอคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว physics2000
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:09:18 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.08 น. ที่วิทยบริการ กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี คือหลักการโพลาไรเซชั่น ภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอแอลซีดีไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์เล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกว่า เซล หน้าจอแอลซีดีประกอบด้วยเซลเล็กๆ มากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ จอแอลซ๊ดี ใช้ผลึกของเหลวควบคุมความสว่างได้
|
|
|
6
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: คอมแพคดิสก์ กับการแทรกสอด
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:04:37 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.04 น. ที่วิทยบริการ ขณะที่แผ่นซีดีหมุน หัวอ่านจะยิงแสงเลเซอร์ไปที่แผ่น และสะท้อนกลับมาที่ตัวดีแทกเตอร์ซึ่งจะคอยตรวจหาความเข้มของแสงสะท้อน ที่ขึ้นและลงตามจังหวะที่หัวอ่านผ่านส่วนที่นูนและแบน ซึ่งก็คือสัญญาณดิจิตอล (0,1) เพื่อให้ระดับความเข้มของสัญญาณง่ายแก่การตรวจหา
|
|
|
7
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: ภาพลวงโลก
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:58:47 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.58 น. ที่วิทยบริการ จุดที่ผิดของรูปมี 3 จุด - ให้สังเกตที่ขวดด้านซ้าย ภาพของขวดที่สะท้อนในกระจกอยู่ไกลจากความเป็นจริง ถ้าสังเกตได้ยากให้ดูจากขอบโต๊ะเป็นหลัด - ผู้หญิงกำลังมองไปข้างหน้า ภาพสะท้อนในกระจกควรจะอยู่ด้านหลังเธอ แต่ภาพสะท้อนไปอยู่ทางด้านขวา - ชายที่มองหน้าเธอ ซึ่งอาจจะเป็นคนวาดนั้นแหละก็มีทิศทางผิดพลาดไปด้วยภาพนี้จึงผิดหลักการสะท้อนแสง
|
|
|
8
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองเรื่องตาและการมองเห็น
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:54:20 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.54 น. ที่วิทยบริการ ส่วนประกอบตา กระจกตา พิวพิล ม่านตา เรติน่า เลนส์ กล้ามเนื้อตา ประสาทตา หลักการมองเห็น คือแสงจากวัตถุหักเหผ่านเลนส์ตา (เลนส์นูน) แล้วเกิดจริงบนเรตินา -ตำแหน่งวัตถุที่อยู่ใกล้สุดเห็นภาพชัดสุด เรียกว่า จุดใกล้ -ตำแหน่งวัตถุที่อยู่ไกลสุดเห็นภาพชัดสุด เรียกว่า จุดไกล
|
|
|
9
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: วีดีโอเรื่องแสงคืออะไร
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:49:45 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.49 น. ที่วิทยบริการ เซอร์ไอแซคนิวตัน บอกว่าให้แสงสีขาวของดวงอาทิตย์ใช้ผ่านปริซัมใช้แยกแล้วแยกทุกสีของสายรุ้ง แสงสีขาวนั้นแสดงให้เห็นว่าแสงสีขาวนั้นเป็นภาพรวม และสีรุ่งทั้ง7สีสามารถรวมกันเป็นแสงสีขาวได้ และนิวตันคิดว่าแสงสีขาวก็เป็นอนุภาคเหมื่อนกัน แสงก็มาจากอนุภาค
|
|
|
10
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: จะเอ๋
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:47:41 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.47 น. ที่วิทยบริการ โครงสร้างของเส้นใยแก้วนำแสง มี 2 ส่วน 1.ตัวกลางนำแสง เรียกว่า แกน เป็นวัสดุใส เช่น แก้วหรือพลาสติก ทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้แสงเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ 2.ส่วนห่อหุ้มแกน เป็นวัสดุใสที่มีดัชนีหักเหของแสงน้อยกว่าวัสดุที่ใช้ทำแกน ทำหน้าที่ให้แสงเกิดการสะท้อนกลับหมดภายในแกน
|
|
|
11
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: กำแพงเมืองจีนกับภาพเขียนของนายจอร์จ เซอร์ราจ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:43:34 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.43 น. ที่วิทยบริการ เมื่อวัตถุ2ชิ้นอยู่ไกล เช่น ดวงดาว2ดาวมีระยะห่างเชิงมุมน้อยมากต้องการให้ได้ภาพวัตถุแยกกัอย่างชัดเจน เลนส์กล้องโทรทัศน์ที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ Yorks Observatory ประเทศ สหรัฐอเมริกา มีเลนส์เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 นิ้ว แยกภาพวัตถุที่ห่างกัน 47 ฟิลิปดาได้
|
|
|
12
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: ปีกผีเสื้อ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:37:30 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.37 น. ที่วิทยบริการ ปีกผีเสื้อที่เราเห็นมีสีสันสวยงาม มันเกิดจากการแทรกสอดแบบเสริมกันของแสงที่สะท้อน จากเม็ดสีที่อยู่บนปีกของผีเสื้อ ปีกผีเสื้อมีลักษณะเป็นชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยเม็ดสีมากมาย
|
|
|
13
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองการแทรกสอดของแสง
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:33:23 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.33 น. ที่วิทยบริการ ในปี ค.ศ 1803 โทมัสยัง นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษได้ทดลองให้เห็นการแทรกสอดของคลื่นโดยใช้แสงไฟจากการเผาโลหะโซเดียม แสงที่จะได้เป็นแบบอาพันธ์ ใช้ช่องแคบเล็กแคบๆสองช่องซึ่งห่างกันdเมื่อแสงผ่านช่องแคบนี้จะทำให้เกิดหน้าคลื่นของแสงชุดใหม่สองชุด ซึ่งมีเฟสเหมือนกันทุกประการ แสงทั้งสองขนวนพบกันบนฉาก จะเกิดริ้วรอย การแทรกสอดบนฉาก ซึ่งเป็นแถบมืด และสว่างสลับกัน
|
|
|
14
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองเรื่องภาพที่เกิดจากกระจกโค้งนูน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:26:47 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 15.25 น. ที่วิทยบริการ การใช้เครื่องหมายเพื่อจำแนกชนิดกระจกได้ดังนี้ 1.ระยะวัตถุจะมีค่าเป็นบวกเมื่อวัตถุอยู่ด้านเดียวกับแสงที่ตกกระทบ 2.ระยะภาพจะเป็นบวกเมื่อเป็นภาพจริง เป็นภาพลบเมื่อเป็นภาพเสมือน 3.รัศมีจะเป็นบวกกระจกโค้งเว้า เป็นลบเมื่อเป็นกระจกโค้งนุน
|
|
|
15
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: Niels Bohr
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 04:34:42 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 16.34 น. ที่วิทยบริการ โบว์ได้เริ่มการศึกษาค้นคว้าครั้งแรกในปี ค.ศ. 1907 เกี่ยวกับเรื่องราวความดึงของผิวน้ำ และจากผลงานชิ้นนี้ โบว์ได้รับรางวัลผลงานเหรียญทองจากสมาคมวิทยายศาสตร์แห่งชาติเดนมาร์ก ต่อมาปีค.ศ. 1911 เกี่ยวกับเรื่องของอิเล็กตรอนของโลหะ เพื่อจัดทำวิทยานิพนธ์สำหรับปริญญาเอก ซึ่งเขาก็ประสบความสำเร็จสมดังใจ หลังจากรับปริญญาแล้วได้เดินทางไปประเทศอังกฤษ และพบกับเซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมป์สัน ทั้งสองได้ร่วมทำการทดลองค้นคว้า ในห้องทดลองคาเวนดิช ม.เคมบริดจ์ และต่อมาได้ค้นคว้าร่วมกับ เออร์เนสรัทเธอร์ ฟอร์ด ม. แมนเชสเตอร์ ในเรื่ององค์ประกอบของอะตอม และตารางธาตุทั้งหมด
|
|
|
16
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 04:24:05 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 16.23 น. ที่วิทยบริการ Fe มีZ=26 การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d6 Zn มีZ=30 การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 Ge มีZ=32 การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p2 Kr มีZ=36 การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 Sr มีZ=38 การจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็นดังนี้ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2
|
|
|
17
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง โครงสร้างอะตอม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 04:17:09 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 16.16 น. ที่วิทยบริการ นักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจศึกษาและเจาะลึกข้อมูลที่มาจากสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอมมากเป็นพิเศษ มากกว่าอะตอมของธาตุอื่น เพราะแม้ดวงอาทิตย์มีธาตุชนิดต่างๆจำนวนมากมาย แต่ธาตุที่พบมากที่สุด คือ ธาตุไฮโดรเจน ชั้นบรรยากาศบนดวงอาทิตย์เพียง 2 ชั้นเท่านั้น ที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์กับชั้นโครโมสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่เย็นเพียงพอสำหรับธาตุไฮโดรเจนที่สามารถมีอยู่ได้ในรูปอะตอม และตรงนี้นี่เองที่เรามองเห็นสเปกตรัมการดูดกลืนและการคายคลื่นแสงของไฮโดรเจนอะตอม
|
|
|
18
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:50:03 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.49 น. ที่วิทยบริการ สารกัมมันตภาพรังสี คือ ธาตุที่สามารถให้พลังงานออกมาในรูปของอนุภาค ได้แก่ แอลฟา บีต้า หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีแกมมา เกิดจากการที่มีนิวเคลียสของธาตุเหล่านี้อยู่ในสภาวะไม่เสถียรนิวเคลียสเหล่านี้จะปลดปล่อยพลังงานออกมาจึงกระทั่งนิวเคลียสเหล่านี้อยู่ในสภาวะเสถียร ชนิดของรังสีมี3ชนิดคือ 1.รังสีแอลฟา ประจุไฟฟ้าเป็นบวก 2.รังสีแกมมา ประจุไฟฟ้าเป็นกลาง 3.รังสีบีตา ประจุไฟฟ้าเป็นลบ องค์ประกอบของนิวเคลียส ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
|
|
|
19
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือน เรื่องการหาอนุกรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:40:29 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.40 น. ที่วิทยบริการ เมื่อเลือกTh232 จะเห็นว่าแท่งกราฟสีแดงจะลดลงอย่างลวดเร็วและแท่งกราฟPb208จะพุ่งสูงขึนและtimestep 1.39 เมื่อเลือก u238 จะเห็นว่ามีตัวธาตุเพิ่มขึ้น u234 Th230 Ra226 Pb210 Pb206 กราฟจะพุ่งขึ้นทางด้าน pb210 ตามลำดับ และจะค่อยๆลดลงแต่แท่งกราฟจะไม่สูงขึ้นจนสุด แต่ธาตุ Pb206 จะใม่ลง
|
|
|
20
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หญิงเหล็กกับเรเดียม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:25:03 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.24 น. ที่วิทยบริการ มารี กูรี เป็นหนึ่งในคณะผู้บุกเบิกในการวิจัยเรื่องกัมมันตภาพรังสีเธอเป็นผู้ค้นพบเรเดียมซึ่งเปล่งกัมมันตภาพรังสีออกมาโดยธรรมชาติ ในขณะที่อะตอมแตกตัวเธอศึกษาค้นคว้าวิจัยในยุคที่ยังไม่มีใครรู้จักมหันตภัยของกัมมันตภาพรังสีต้องดิ้นรนทำงานด้วยความขาดไร้ไม่ว่าจะเป็นเงินทุน สนับสนุนหรือการยอมรับนับถือจากสังคมรอบด้านทำงานหนักสายตัวแทบขาดทั้งๆที่ป่วยไข้ในระดับที่ไม่มีมนุษย์คนไหนทานทนได้ และต้องฝืนกระแสความเชื่อประจำยุคนั้นที่ว่าผู้หญิงไม่มีทางเป็นนักวิทยาศาสตร์ได้
|
|
|
21
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: นิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:17:14 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.16 น. ที่วิทยบริการ ประโยชน์ของนิวเคลียร์ ด้านการแพทย์ ใช้ในการวินิจฉัยโรคต่างๆ รักษาโรค และทำลายเชื้อโรค ด้านการเกษตร ใช้ในการถนอมอาหาร วิจัยทางการเกษตร ใช้ปรับปรุงพันธุ์พืช ด้านอุตสาหกรรม ใช้ควบคุมความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์ ใช้ตรวจหาการรั่วไหลของน้ำมัน ด้านพลังงาน ใช้เป็นแหล่งพลังงานไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ เป็นแหล่งพลังงานในเรือเดินสมุทร และยังมีประโยชน์ในด้านอื่นอีกมากมาย
|
|
|
22
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: โครงการแมนแฮตตัน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:12:27 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.12 น. ที่วิทยบริการ นิลส์ บอร์ นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก กลับไม่ค่อยจะเห็นด้วยนักกับทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด และได้ทำการค้นคว้าวิจัย และปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจร เฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
23
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ไอโซโทป
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:06:29 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.05 น. ที่วิทยบริการ ไอโซโทปคืออะตอมของธาตุเดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันแต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ธาตุไฮโดรเจนมีสามชนิด ไฮโดรเจนชนิดที่หนึ่งไม่มีนิวตรอนอยู่ในบริเวณนิวเคลียสเลย เราเรียกไฮโดรเจนชนิดนี้ว่าไฮโดรเจนธรรมดา ไฮโดรเจนชนิดที่สองมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสหนึ่งนิวตรอน เรียกว่าไฮโดรเจนหนักหรือดิวทีเรียม ไฮโดรเจนชนิดที่สามมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสสองนิวตรอน เรียกชื่อว่า Trituum ดิวทีเรียมและทริเซียมเป็นไอโซโทปของไฮโดรเจน
|
|
|
24
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: การทดลองของ (Michelson-Morley Experiment)
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:32:22 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 20.32 น. ที่วิทยบริการ เมื่อลำแสงออกจากตำแหน่ง s ผ่านเลน l แล้วตกบนแผ่นแก้วครึ่งกระจกเงา p แยกลำแสงออกเป็น 2แนว แนวที่ 1 จะทะลุผ่านกระจกเข้า หากระจกเงา m1 และแนวที่2 สะท้อนจากแผ่นกระจกเข้าหากระจกเงา m2 แนวที่1 หลังจากสะท้อนที่กระจกเงา m1 แล้วกลับที่แผ่นแก้วครึ่งกระจกเงา สะท้อนบางส่วนเข้าสู่กล้องโทรทัศน์
|
|
|
25
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ไอน์สไตน์อธิบายความสัมพันธ์ของมวลกับพลังงาน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:19:04 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 20.18 น. ที่วิทยบริการ แปลได้ว่าเป็นไปตามทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ที่มวลและพลังงานทั้งคู่อยู่ในสิ่งเดียวกัน แต่แสดงออกแตกต่างกันออกไป นับเป็นแนวคิดที่ไม่คุ้นเคยสำหรับสติปัญญาในระดับธรรมดา ยิ่งกว่านั้นสมการ อี เท่ากับเอ็มซียกกำลังสอง ในพลังงานนั้นทำให้เท่ากับมวล แล้วคูณด้วยความเร็วแสงยกกำลังสอง แสดงให้เห็นถึงมวลจำนวนเล็กๆ อาจจะเปลี่ยนเป็นพลังงานมหาศาลได้ หรือในทางกลับกันพลังงานมหาศาลก็เปลี่ยนเป็นมวลเพียงเล็กน้อยได้เช่นกัน มวลและพลังงานมีความสมมูล (มีค่าเท่ากัน) ตามสูตรที่อ้างถึงก่อนหน้านี้ ซึ่งค็อกครอฟท์กับวอลตันเคยทำการทดลองเร่งอนุภาคไว้เมื่อปี 1932
|
|
|
26
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: แผ่นใสทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.ดร. อรรถกฤต ฉัตรภูติ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:16:37 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 20.16น. ที่วิทยบริการ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
27
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: วีดีโอทฤษฎีสัมพัทธภาพ 1
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:10:51 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 20.10 น. ที่ตึกวิทยบริการ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ คิดว่าทฤษฎีพื้นที่และเวลาของนิวตันคงที่ นำมาใช้เกี่ยวกับความเร้วของแสงได้ จากแนวคิดนี้ เขาได้สร้างทฤษฎี สัมพัทธภาพพิเศษ ในโลกของนิวตัน พื้นที่และเวลาแยกจากกันเสมอ เวลาเป็นเหมือนลูกศร เมื่อยิงไปแล้วมันจะไม่กลับมา ไม่เบี่ยงเบน แต่ไอน์สไตน์บอกว่าเวลาเป็นเหมือนสายน้ำ เร่งความเร็วและชลอลงได้ แต่หากพื้นที่และเวลาเปลี่ยนได้ ทุกอย่างก็จะเปลี่ยนไป
|
|
|
28
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: แผ่นใสฟิสิกส์ของกาลเวลา
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:04:56 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 20.04 น. ที่ตึกวิทยบริการ เวลาตาแนวคิดของไอน์สไตน์ - สิ่งที่ใช้เรียงลำดับเหตุการณ์ - เวลาอันเป็นจิตพิสัย - สิ่งที่วัดได้โดยนาฬิกา - ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ เวลา คือสิ่งสมมุติที่มนุษย์กำหนดขึ้น ให้มีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ผ่านสิ่งที่เราเรียกว่านาฬิกา ซึ่งมีตั้งแต่ วินาที นาที ชั่วโมง ซึ่งเราก็ตกเป็นทาสของเวลากันทั้งนั้น
|
|
|
29
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ชีวิตการทำงานของไอน์สไตน์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 07:58:54 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 19.58 น. ที่ตึกวิทยบริการ ผลงานของไอน์สไตน์"ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
30
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.สุวิทย์ ชวเดช
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 07:49:14 pm
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 19.48 น. ที่ตึกวิทยบริการ อัตราเร็วแสงมีค่ามากกว่าอัตราเร้วของเสียงอย่างมากมาย -เดส์การ์ตส์ คิดว่าแสงมีอัตราเร็วมากมายอย่างไม่สิ้นสุดหรืออนันต์ -กาลิเลโอ และบรรดานักวิทยาศาสตร์ในสมัยเดียวกันกับเขาต่างก็คิดกันว่า แสงมีอัตราเร็วจำกัดค่าหนึ่ง คุณสมบัติของแสง -อัตราเร็วของแสง186000ไมล์ต่อวินาที ในเวลา1วินาที แสงสามารถเดินทางได้ระยะเท่ากับระยะทางรอบโลก โดยรวมประมาณ7รอบทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ -แสงเป็นคลื่นเดียวกับคลื่นวิทยุ คลื่นอินฟราเรด ซึ่งเราเรียกคลื่นแบบนี้ทั้งหมดว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
|
|
|
|