แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3 ... 5
|
1
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 11:26:56 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ บ้าน เวลา 23.26 น เลือกทำ 5 ข้อ ทำได้ 0 ข้อ
|
|
|
2
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: ทดสอบออนไลน์เรื่องระเบิดนิวเคลียร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 08:10:29 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 20.10 น เลือกทำ 5 ข้อ ทำได้ 3 ข้อ
|
|
|
3
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 08:02:11 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 20.02 น มีความคิดเห็นว่า สารกัมมันตภาพรังสี คือ ธาตุที่สามารถให้พลังงานออกมาในรูปของอนุภาค ได้แก่ แอลฟา บีต้า หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีแกมมา เกิดจากการที่มีนิวเคลียสของธาตุเหล่านี้อยู่ในสภาวะไม่เสถียรนิวเคลียสเหล่านี้จะปลดปล่อยพลังงานออกมาจึงกระทั่งนิวเคลียสเหล่านี้อยู่ในสภาวะเสถียร ชนิดของรังสีมี3ชนิดคือ 1.รังสีแอลฟา ประจุไฟฟ้าเป็นบวก 2.รังสีแกมมา ประจุไฟฟ้าเป็นกลาง 3.รังสีบีตา ประจุไฟฟ้าเป็นลบ องค์ประกอบของนิวเคลียส ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
|
|
|
4
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือน เรื่องการหาอนุกรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 08:00:53 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 20.00 น มีความคิดเห็นว่า เมื่อเลือกTh232 จะเห็นว่าแท่งกราฟสีแดงจะลดลงอย่างลวดเร็วและแท่งกราฟPb208จะพุ่งสูงขึ้นและtimestep 1.39 เมื่อเลือก u238 จะเห็นว่ามีตัวธาตุเพิ่มขึ้น u234 Th230 Ra226 Pb210 Pb206 กราฟจะพุ่งขึ้นทางด้าน pb210 ตามลำดับ และจะค่อยๆลดลงแต่แท่งกราฟจะไม่สูงขึ้นจนสุด แต่ธาตุ Pb206 จะใม่ลง เมื่อ เลือกPu2411 จะเห็นว่ามีธาตุ Pu241 Am241 Np237 U233 Th229 เมือกดปุ่ม Animate จะเห็นว่ามีการพุ่งขึ้นของกราฟทั้งหมดโดยเรียงตามลำดับ จากนั้นจะค่อยลดลง
|
|
|
5
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หญิงเหล็กกับเรเดียม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 07:59:02 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 19.58 น มีความคิดเห็นว่า ผลงานของมารี กูรี, เออร์เนส รัทเทอร์ฟอร์ด, แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์,อ็อตโตฮาน และนักวิทยสาสตร์คนอื่น ๆ ช่วยให้เข้าใจธรรมชาติของอะตอมได้ดียิ่งขึ้น เข้าใจมากจนทราบว่า อะตอมสามารถยิงให้แตกเป็นเสี่ยงหรือนำมาหลอมรวมกันได้ ซึ่งทั้งสองทางหากจุดสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสมจะให้พลังงานความร้อน แสง แล ะ3 พลังงานรูปแบบอื่นๆในปริมาณมหาศาล ในปี 1945 ระเบิดอะตอมอำนาจการทำลายล้างมหาศาลถูกทิ้งลงจากเครื่องบินทำลายเมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่นจนทลายราบยุติสงครามโลกครั้งที่สองได้ในทันที ระเบิดอะตอมอาศัยการแตกอะตอมเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ในปัจจุบันนี้ สหรัฐฯและรัสเซียมีระเบิดไฮโดรเจนที่มีอำนาจการทำลายล้างสูงกว่าอีกหลายเท่าตัว...มีมากพอที่จะระเบิดโลกให้เป็นผุยผงได้หลายครั้ง ผลลัพท์น่าสะพรึงกลัวจากการวิจัยทางวิทยาศาสตร์...ระเบิดอะตอมลูกที่สองที่สหรัฐฯทิ้งลงถล่มเมืองนางาซากิประเทศ • ญี่ปุ่นในปี 1945 กัมมันตภาพรังสีแผ่กระจายครอบคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง แต่ก็ทำให้สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติในอีกไม่กี่วันถัดมา
|
|
|
6
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: นิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:21:28 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.21 น มีความคิดเห็นว่า นิวเคลียร์ และสารกำมันตรังสี ทั้งสองชื่อนี้อาจจะน่ากลัวแหนปัจจุบันนี้ได้มีการนำเอาทั้งสองสิ่งนี้มาใช้ประโยชน์ในหลายวงการณ์ และในอนาคตก็คงจะมีการนำเอาทั้งสองสิ่งมาใช้ประโยชนืในวงการต่างๆมากขึ้น และมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมประเทศไทยก็จะมีความจำเป็นต้องมีโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ หรือใช้ผสมในเกลือปรุงรสที่ใช้ในการทำอาหารซึ่งปัจจุบันกฎหมายอาหารและยากำหนดให้เกลือปรุงรสที่ผลิตในโระดับอุตสาหกรรมต้องผสมในไอโอดีนเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขแก่ประชาการของประเทศไม่ให้ป่วยเป้นโรคคอพอคหรือคนใข้เรียกว่าดื่มน้ำเกลือแร่ "น้ำแร่"
|
|
|
7
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: โครงการแมนแฮตตัน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:18:59 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.19 น มีความคิดเห็นว่า เมื่อการทดลองประสบความสำเร็จ สหรัฐอเมริกาก็เตรียมที่จะใช้อาวุธมหาประลัยนั้นเผด็จศึกญี่ปุ่น โดย 3 ผู้นำของชาติพันธมิตร ได้แก่ ประธานาธิบดี ทรูแมน แห่งสหรัฐฯ นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล แห่งอังกฤษ และสตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต ได้ประชุมกันที่เยอรมันนี และได้ยื่นคำขาดให้ญี่ปุ่นยอมจำนน แต่ญี่ปุ่นไม่สนใจ ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงใช้วิธีการขั้นเด็ดขาด โดยผู้ที่ต้องตัดสินใจครั้งสำคัญนี้ คือ แฮร์รี่ ทรูแมน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสหรัฐฯเป็นประเทศที่ผลิตและครอบครองระเบิดปรมณู จากการพิจารณาครั้งนั้น ได้มีเสียงคัดค้านจากคนในชาติ บางส่วนที่เคร่งในศีลธรรม แต่ในที่สุด ประธานาธิบดี ทรูแนม ก็ได้ประกาศิตชะตากรรมของเมืองฮิโรชิมา และนางาซากิในเวลาถัดมา โดยคำสั่งทิ้งระเบิด และพลิกหน้าประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติ เข้าสู่ยุคนิวเคลียร์อย่างเต็มตัว
|
|
|
8
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ไอโซโทป
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:17:34 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.17 น มีความคิดเห็นว่า ความหมายของไอโซโทป ไอโซโทปกัมมันตรังสี มีที่ใช้มากในทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรม บางครั้งเราใช้มันเป็น สื่อ เช่น เราทราบว่าร่างกายต้องการเหล็ก และถ้าใครขาดเหล็กจะเป็นโรคแอนนีเมีย แพทย์อาจจะให้เครื่องดื่มที่มีเหล็กเจือปนอยู่ด้วย แต่ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่า ร่างกายจะรับเหล็กไว้หรือถ่ายออกมา ฉะนั้นแพทย์จึงผสมเหล็ก -59 ซึ่งเป็นเหล็กกัมมันตรังสีลงไปในเหล็กธรรมดาในยา ต่อมาสองหรือสามวัน แพทย์ก็อาจตรวจได้ว่า มีเหล็กเข้าไปอยู่ในใจกลางของกระดูกซึ่งต้องการเหล็กแล้วหรือยัง โดยใช้เครื่องไกเกอร์เคาว์นเตอร์ ซึ่งจะตรวจสอบดูรังสีที่เหล็กส่งออกมา เหล็ก -59 ใช้มากไม่ได้เพราะเป็นอันตราย เครื่องไกเกอร์ เคาว์นเตอร์มีความไวมาก สามารถจะนับได้แม้แต่อิเลคตรอนตัวเดียว “สื่อ” เช่นนี้ใช้กันมากในวงการอุตสาหกรรมเพื่อหาจุดรั่วเล็กๆ ในท่อหรือดูว่าโลหะจะผสมกันดีหรือไม่ในโลหะผสม ในทางวิศวกรรมใช้ไอโซโทปช่วยวัดความหนาของโลหะได้ โดยดูอำนาจทะลุทะลวงของกัมมันภาพตรังสี ถ้าผลออกมาไม่สม่ำเสมอดี ก็เชื่อได้ว่าโลหะนั้น อาจมีโพรงเล็กๆ อยู่ข้างใน ซึ่งวิธีอื่นๆ บอกไม่ได้เลย ไอโซโทปคืออะตอมของธาตุเดียวกันมีจำนวนโปรตอนเท่ากันแต่มีจำนวนนิวตรอนต่างกัน ธาตุไฮโดรเจนมีสามชนิด ไฮโดรเจนชนิดที่หนึ่งไม่มีนิวตรอนอยู่ในบริเวณนิวเคลียสเลย เราเรียกไฮโดรเจนชนิดนี้ว่าไฮโดรเจนธรรมดา ไฮโดรเจนชนิดที่สองมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสหนึ่งนิวตรอน เรียกว่าไฮโดรเจนหนักหรือดิวทีเรียม ไฮโดรเจนชนิดที่สามมีนิวตรอนอยู่ในนิวเคลียสสองนิวตรอน เรียกชื่อว่า Trituum
|
|
|
9
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: วีดีโอเรื่อง ต้นกำเนิดของแสงเลเซอร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:14:27 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.13 น มีความคิดเห็นว่า การค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเลเซอร์ เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 1960 โดย ทีโอดอร์ ไมแมน (Theodore Maiman) ที่สถาบันวิจัย ฮิวจ์ (Hughes Research Laboratories) ทุกวันนี้เลเซอร์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลายพันล้านดอนล่าร์ ผลผลิตจากงานวิจัยเลเซอร์ และกลายเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย มีให้เห็นอย่างเช่น แผ่นดีวีดี แผ่นซีดี เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องอ่านบาร์โค้ด อุปกรณ์ตัดโลหะด้วยเลเซอร์ ฯลฯ จะเห็นได้ว่าเลเซอร์มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ หรือแม้กระทั่งด้านการทหาร ก็เพราะว่าเลเซอร์สามารถควบคุมความยาวคลื่นตามที่ต้องการได้ แสงเลเซอร์เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความยาวคลื่นใดความยาวคลื่นหนึ่งในแถบสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งอาจอยู่ในช่วงระหว่างรังสีอินฟาเรดถึงรังสีอุลตร้าไวโอแลตรวมตลอดความยาวคลื่นของแสงที่มองเห็น สารที่นำไปใช้ผลิตแสงเลเซอร์มี 4 ประภทคือ เลเซอร์แก๊ส เลเซอร์ของเหลว เลเซอร์ของแข็ง เลเซอร์ไดโอด
|
|
|
10
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง Frank-hertz
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:10:47 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.10 น มีความคิดเห็นว่า การจัดเครื่องมือทดลองของแฟรงค์และเฮิรตซ์ เมื่ออิเล็กตรอนถูกปล่อยออกมาจากไส้หลอดที่ร้อน F จะเคลื่อนที่ไปยังแผ่น P ระหว่าง F และ P มีกริด G กั้นอยู่ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่จาก F ไป G จะถูกเร่งด้วยความต่างศักย์ V0 แต่เมื่อเคลื่อนที่จาก G ไป P มีศักย์หน่วง (retarding potential) Vr ซึ่งมีค่าเพียงเล็กน้อย อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก F ไป P ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหล Ip วัดได้ด้วยแอมมิเตอร์ A ความเร็วของอิเล็กตรอนหลังจากถูกปล่อยออกมาจาก F และเคลื่อนที่มาถึง G คือ 1/2mv ^2 = eV0 เมื่อ V0 มีค่าเพิ่มขึ้นความเร็วของอิเล็กตรอนมากขึ้นด้วย ในขณะที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่จาก F ไปยัง P จะมีการชนกับอะตอมของธาตุที่อยู่ในสภาพเป็นไอ ซึ่งบรรจุไว้ในหลอดทดลอง ถ้าความเร็วของอิเล็กตรอนต่ำ การชนกันจะไม่สามารถกระตุ้นอะตอมได้ และอิเล็กตรอนเพียงแต่เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่เท่านั้น ด้วยเหตุนี้อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่มาถึง G จึงมีพลังงานเหลือมากพอที่จะผ่านศักย์หน่วง Vr ไปยัง P ได้ เมื่อ V0 เพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปถึง P ได้มากขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มกระแส Ip และต่อมาเพื่อเพิ่ม V0 จนกระทั่งถึงค่าหนึ่ง อิเล็กตรอนมีพลังงานมากพอที่จะชนกับอะตอมแล้วอะตอมถูกกระตุ้นในกรณีนี้อิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานเกือบทั้งหมด เมื่ออิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปถึง G แล้วจะไม่มีพลังงานพอที่จะผ่านศักย์หน่วง Vr ดังนั้นกระแสจะลดลงอย่างรวดเร็ว และต่อมาเมื่อ V0 เพิ่มขึ้นอีก กระแส Ip จะเพิ่มขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
|
|
|
11
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือน เรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:09:10 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.09 น มีความคิดเห็นว่า จัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม 1.ใช้หลักของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอน คือ ในแต่ละออร์บิทัลจะบรรจุอิเล็กตรอนได้อย่างมากที่สุด 2 ตัว (มีสปินต่างกัน) ใช้เครื่องหมาย แทนอิเล็กตรอนที่มีสปินขึ้น (spin up) ใช้เครื่องหมาย แทนอิเล็กตรอนที่มีสปินลง (spin down) ใช้เครื่องหมาย แทนอิเล็กตรอนเดี่ยวในออร์บิทัล ใช้เครื่องหมาย แทนอิเล็กตรอนคู่ในออร์บิทัล 2.บรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานต่ำสุดที่ยังว่างก่อน (เรียงลำดับออร์บิทัลตามลูกศรในรูป) จนครบจำนวนอิเล็กตรอนทั้งหมดในอะตอมนั้น การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบนี้ จะทำให้ อะตอมมีสถานะเสถียรที่สุดเพราะพลังงานรวมทั้งหมดของอะตอมมีค่าต่ำสุด 3. การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากันเช่นออร์บิทัล d จะใช้ กฎของฮุนด์ (Hund's rule) คือ"การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีระดับพลังงานเท่ากัน จะบรรจุในลักษณะที่ทำให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด" 4.การบรรจุอิเล็กตรอนที่ทุกๆออร์บิทัล มีระดับพลังงานเป็น degenerate (ระดับพลังงานเท่ากัน) ทุกออร์บิทัลอาจมีอิเล็กตรอนอยู่เต็ม (2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) หรือมีอิเล็กตรอนอยู่เพียงครึ่งเดียว (1 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล)
|
|
|
12
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:08:03 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.07 น มีความคิดเห็นว่า แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น แสงเป็นไปได้ทั้งอนุภาค และคลื่น การอธิบายแบบอนุภาค เราได้ทำไปแล้วตั้งแต่เบื้องต้น แต่ถ้าแสงเป็นคลื่น การอธิบายต้องเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง โดยที่คลื่นแสงเมื่อพุ่งเข้าชนกับอะตอมที่ถูกกระตุ้น อะตอมจะปลดปล่อยพลังงานออกมาเสริมเข้ากับคลื่นที่พุ่งเข้าไป ทำให้คลื่นที่ได้ออกมามีแอมพลิจูดสูงขึ้น หรือทำให้พลังงานของคลื่นเพิ่มขึ้นนั่นเอง อะตอมที่ถูกกระตุ้นจะให้โฟตอนออกมา และเมื่อให้ออกมาแล้วจะกลับเข้าสู่สถานะพลังงานต่ำ รอการพุ่งเข้าชนของโฟตอน ซึ่งจะถูกกระตุ้นใหม่ เป็นวัฏจักรตลอดเวลา โฟตอนที่ได้ออกมาไปทำให้เกิดปฎิกิริยาลูกโซ่ กระตุ้นให้อะตอมอื่นปลดปล่อยโฟตอนออกมาอย่างต่อเนื่อง การพุ่งออกมาอย่างไม่มีทิศทางนี้ ทำให้เราได้แสงเลเซอร์ที่มีพลังงานไม่มากพอ นำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ ถ้าเราจะนำแสงเลเซอร์ไปใช้ประโยชน์ ลำแสงจะต้องพุ่งไปในทิศทางเดียว
|
|
|
13
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: Niels Bohr
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:04:11 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.04 น มีความคิดเห็นว่า หลังจากที่บอร์ประสบความล้มเหลวจากการหยุดยั้งระเบิด เขาได้เดินทางกลับประเทศเดนมาร์ก และได้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการพลังงานปรมาณูแห่งเดนมาร์ก ในขณะที่เขาดำรงตำแหน่งนี้เขาได้พยายามหยุดยั้งการใช้ระเบิดปรมาณูเพื่อการทำลายล้างทุกวิธีทาง จนในที่สุดความพยายามของเขาก็สัมฤทธิ์ผล ในปี ค.ศ.1955 การประชุมเรื่องปรมาณู ว่าด้วยเรื่อง การควบคุมการใช้พลังงานปรมาณูเพื่อสันติและสร้างสรรค์ มิใช่เพื่อการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ด้วยกัน ครั้งแรกเกิดขึ้น ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และจากความพยายามของบอร์ ในปีค.ศ.1957 บอร์ได้รับรางวัลปรมาณูเพื่อสันติดภาพ (Atom for Peace Award) จากหอวิทยาศาสตร์แห่งชาติ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เป็นจำนวนเงิน 75,000 เหรียญ ซึ่งบอร์เป็นบุคคลแรกที่ได้รับรางวัลนี้
|
|
|
14
|
ฟิสิกส์ 2 / โครงสร้างของอะตอม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง โครงสร้างอะตอม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:02:08 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.02 น มีความคิดเห็นว่า นักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจศึกษาและเจาะลึกข้อมูลที่มาจากสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอมมากเป็นพิเศษ มากกว่าอะตอมของธาตุอื่น เพราะแม้ดวงอาทิตย์มีธาตุชนิดต่างๆจำนวนมากมาย แต่ธาตุที่พบมากที่สุด คือ ธาตุไฮโดรเจน ชั้นบรรยากาศบนดวงอาทิตย์เพียง 2 ชั้นเท่านั้นที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์กับชั้นโครโมสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่เย็นเพียงพอสำหรับธาตุไฮโดรเจนที่สามารถมีอยู่ได้ในรูปอะตอม และตรงนี้นี่เองที่เรามองเห็นสเปกตรัมการดูดกลืนและการคายคลื่นแสงของไฮโดรเจนอะตอม
|
|
|
15
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: แมกซ์ แพลงค : Max Planck
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:00:17 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.00 น มีความคิดเห็นว่า ค.ศ.1930 แพลงคได้รับเชิญให้ดำรงตำแหน่งประธานของสมาคมไกเซอร์วิลเฮลืฒแห่งเบอร์ลิน ต่อมาสมาคมนี้ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมแมกซ์ แพลงค (Max Planck Society) เพื่อเป็นเกียรติให้กับเขา ในระหว่างที่เขาดำรงตำแหน่งนี้ เขาได้ริเริ่มให้ออกวารสารเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ฉบับหนึ่งชื่อ Annalen der Physik เพื่อเผยแพร่ผลงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ของทางสมาคมให้สาธารณชนได้รับรู้ แพลงคได้ย้ายมาอยู่ที่เมืองกอตติงเกน ในปี ค.ศ.1945 และหลังจากนั้นอีก 2 ปี เขาก็เสียชีวิตในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ.194
|
|
|
16
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก (Werner Heisenberg)
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:58:12 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.58 น มีความคิดเห็นว่า เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก เป็นนักฟิสิกส์ที่มีชื่อเสียงที่สุดของวงการฟิสิกส์โลก เขาได้รับรางวัลโนเบล สายฟิสิกส์ ประจำปี ค.ศ.1932 ขณะมีอายุเพียง 31 ปี เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาทฤษฎีควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "The Uncertainty Principle" หรือ หลักความไม่แน่นอน ซึ่งเป็นหลักการสำคัญหลักการหนึ่งของทฤษฎีควอนตัม และเป็นส่วนที่ทำให้ไอน์สไตน์ ไม่สู้จะสบายใจ เพราะไอน์สไตน์ไม่ชอบความไม่แน่นอน และเป็นอุปสรรคสำคัญสำหรับการรวมแรงพื้นฐาน 4 ชนิด เข้าด้วยกัน ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เวิร์นเนอร์ ไฮเซนเบิร์ก เป็นหัวหน้าโครงการสร้างระเบิดอะตอมของเยอรมนี และการดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าโครงการสร้างระเบิดอะตอมของไฮเซนเบิร์กนี้เอง ที่ไปกระตุ้นให้เกิดโครงการสร้างระเบิดอะตอม (คือ โครงการ แมนฮัตตัน) ของประเทศฝ่ายสัมพันธ มิตร จนกระทั่งระเบิดอะตอมถูกสร้างขึ้นมาได้สำเร็จ ถึงแม้จะปรากฏเป็นความจริงภายหลังสงครามว่า ไฮเซนเบิร์ก มิได้มีความมุ่งมั่นอย่างจริงจัง ที่จะเร่งสร้างระเบิดอะตอม ของฝ่ายนาซีเยอรมันให้สำเร็จอย่างรวดเร็ว
|
|
|
17
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: เออร์วิน ชโรดิงเจอร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:56:28 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.56 น มีความคิดเห็นว่า เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ เป็นชาวออสเตรีย เกิดเมื่อวันที่ 12 เดือนสิงหาคม ค.ศ.1887 ที่กรุงเวียนนา ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 4 เดือน มกราคม ค.ศ.1961 ที่บ้านเกิด คือกรุงเวียนนา) มีชีวิตที่ค่อนข้างจะโลดโผน เคยออกสนามรบแนวหน้าระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ลี้ภัยจากนาซีเยอรมันในระหว่างการขึ้นสู่อำนาจของฮิตเลอร์ ทั้งที่ตนเองไม่ใช่ยิว แต่มีจุดยืนแสดงออกชัดเจนต่อต้านนาซีเยอรมัน โดยความช่วยเหลือของนายกรัฐมนตรีของประเทศไอร์แลนด์ คือ อีมอน เดอ วาเลอรา (Eamon De Valera) ทว่าในบั้นปลายของชีวิต เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองสงบลง ก็เดินทางกลับไปทำหน้าที่นักฟิสิกส์คนสำคัญของออสเตรียในประเทศออสเตรีย จนกระทั่งถึงลมหายใจสุดท้าย เออร์วิน ชโรดิงเจอร์ ได้รับรางวัลโนเบลประจำ ปี ค.ศ.1933 (ร่วมกับ พอล ดิแรก) สำหรับผลงานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมและกลศาสตร์ควอนตัม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาสมการคลื่นของกลศาสตร์ควอนตัมหรือสมการคลื่นของชโรดิงเจอร์นั่นเอง
|
|
|
18
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การเคลื่อนย้ายมนุษย์ (Teleportation)
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:55:29 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.55 น มีความคิดเห็นว่า มนุษย์ปกติที่มีรูปร่างพอดี ประกอบด้วยอะตอมทั้งหมดประมาณ 1028 อะตอม คือมี เลข 0 อยู่หลังเลข 1 จำนวน 28 ตัว เครื่องจะต้องอ่านข้อมูลของอะตอมทุกๆตำแหน่ง และส่งข้อมูลไปยังที่ใหม่ เพื่อให้อะตอมในที่ใหม่จัดเรียงตัวกันตามข้อมูลนี้ กลายเป็นคนเดิม โดยที่คนเดิมในตำแหน่งเริ่มต้นหายไป (ถ้าไม่หายยุ่งแน่ กลายเป็นสองคน) ความคิดเหล่านี้ดูคล้ายความฝัน ซึ่งเมื่อก่อนไม่เคยมีใครคิดว่าจะส่งเอกสารด้วยเครื่อง แฟกซ์ได้ ไม่เคยมีใครคิดว่า เราจะก็อปปี้เอกสารต้นฉบับ ได้เหมือนกับต้นฉบับทุกประการ ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นเรื่องธรรมดาไป จากนี้จนถึงอนาคตอันไกลโพ้น เราคงต้องไปอาศัยอยู่ ณ ดาวดวงอื่น ดังนั้นการเคลื่อนที่แบบเดิมที่ใช้เวลานาน คงยกเลิกไป และ การเคลื่อนที่แบบเทเลพอเทชั่น จะเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่พวกเราต้องพัฒนาขึ้นให้ได้
|
|
|
19
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: แผ่นใสเรื่อง ทฤษฎีควอนตัม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:53:45 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.53 น มีความคิดเห็นว่า หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก (Heisenberg Uncertainly Principle) เป็นไปไม่ได้ที่จะทราบทั้งโมเมนตัม (p = mv) และตำแหน่งของอนุภาค (d) ได้อย่างถูกต้อง พร้อมๆ กัน ดังนั้นแบบจำลองของโบร์ที่ว่า e- จะเคลื่อนที่อยู่ ในวงโคจรโดยมีโมเมนตัมคงที่ จึงไม่ถูกต้อง 4 Max Born เสนอว่า ถ้าเลือกที่จะทราบพลังงานของ e- ในอะตอมโดยมีความไม่แน่นอนเล็กน้อย จะต้อง ยอมรับ ตำแหน่งของ e- ใน space รอบนิวเคลียสที่ มีความไม่แน่นอนสูงสิ่งที่ทำได้คือ การคำนวณความน่าจะเป็น (probability) ของการพบ e- ใน space ในบริเวณที่กำหนด
|
|
|
20
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง ปรากฎการณ์คอมป์ตัน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:52:00 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.51 น มีความคิดเห็นว่า ปรากฎการณ์คอมป์ตัน E = พลังงานจลน์รวมเริ่มต้นของโฟตอนก่อนชน หน่วยเป็น Kev E' = พลังงานจลน์ของโฟตอน ที่กระเจิง หน่วยเป็น Kev h = 6.62 x 10-34 จูล.วินาที c = 3 x 108 เมตร/วินาที่ Theta = มุมที่โฟตอนกระเจิง ปรากฏการณ์คอมป์ตันเป็นหลักฐานชัดเจนที่แสดงให้เห็นธรรมชาติของคลื่นแม่ไฟฟ้าว่า มีลักษณะเป็นอนุภาค ทั้งนี้คอมป์ตัน(A.H. Compton) ได้ศึกษาการกระเจิงของรังสีเอกซ์ โดยรังสีเอกซ์ทำอันตรกิริยากับอนุภาคเป้าแล้วเกิดการเบนของรังสีเอกซ์ หรือบางกรณีนอกจากการเบนรังสีแล้วความยาวคลื่นยังเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วย กระบวนการนี้เรียนว่า การจระเจิง(scattering)
|
|
|
21
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง การแผ่รังสีของวัตถุดำ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:49:56 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.49 น มีความคิดเห็นว่า กฎของสตีฟาน พลังงานต่อหน่วยหน่วยปริมาตรของทุกๆความถี่ที่แผ่ออกมาวัตถุดำ จะแปรผกผันตรงกับกำลังสี่ของอุณหภูมิ U = eซิกม่าร์เมื่อซิกม่าร์ คือ ค่าคงที่ของสตีฟาน = 5.67x10^-18 e คือ ความสามารถในการแผ่รังสี ถ้าเป็นวัตถุดำจะมีค่าเท่ากับ 1 กฎของวีน วัตถุทุกชิ้นที่มีอุณหภูมิสูงกว่าองศาสมบูรณ์จะมีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาเสมอ เมื่อวัตถุมีอุณหภูมิต่ำรังสีส่วนใหญ่ที่แผ่ ออกมามีความถี่ อยู่ในย่านที่มนุษย์มองไม่เห็นจากการทดลอง เมื่อเลื่อนแนวเทอโมมิเต่อ จะเห็นว่า T เปลี่ยนไปคือกราฟจะพุ่งขึ้นและกราฟทางซ้าย ก็จะเป็นแนวเส้นโคงขึ้นด้วย
|
|
|
22
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: วีดีโอ เรื่อง ฟิสิกส์ควอนตัม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:47:14 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.46 น มีความคิดเห็นว่า นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อว่า แม็กฟลักช์ เรียกกฎใหม่นี้ว่า ทฤษฎีควอนตัม มันคือการค้นพบที่สำคัญทฤษฎีนี้เกิดในปี 1900 เพราะว่าเกิดการทำงานด้านฟิสิกส์มาก มีการค้นพบปรากฎการณ์ใหม่ที่ละเมิดกฎของนิวตัน ตัวอย่างเช่น มาตาม กิวรี ปรับปรุงสิ่งที่เรียกว่า เรเดียม เรเดียมมีคุณสมบัติพิเศษในการเรืองแสง อนุภาคเกิดขึ้นจากความว่างเปล่า เพราะว่าพลังงานเกิดขึ้นจากความว่างเปล่า ในปี 1900 คนคิดว่าสามารถตัดพลังงานไฟฟ้าได้ไม่รู้จบ แม็กฟลังก์บอกว่าพลังงานเกิดขึ้นเป็นกลุ่ม เรียกว่า ควอนตัม แสงมาจากกลุ่มก้อน สสารมีคุณสมบัติเหมือนคลื่น ควอนตัมเป็นก้าวเล็กที่สุดเกิดขึ้นในธรรมชาติ แต่กลับเป็นก้าวที่มีความยิ่งใหญ่ในด้านความคิดของมนุษย์เรา ทรัพย์อะตอมมิคอะตอมหรืออนุภาคต่าง ๆ ในอะตอม เช่น อิเล็คตรอนจะเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง สิ่งที่เป็นไปไม่ได้ในโลกธรรมดา แต่กลับเป็นเรื่องปรกติของอะตอมในโลกของทรัพย์อะตอมมิคอะตอม
|
|
|
23
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง Photoelectric effect
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:45:18 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.44 น มีความคิดเห็นว่า เมื่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตกกระทบโลหะ จะทำให้อะตอมมีการสั่นสะเทือนแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก ถ้าความเข็มของคลื่นมีค่ามากขึ้น นั้นคือขนาดของสนามแม่เหล็กมากขึ้น ทำให้แรงที่ทำให้เกิดการสั่นมีค่ามาก อิเล็กตรอนจหลุดจากผิดโลหะด้วยพลังงานที่มีค่ามาก ถ้าเพิ่มความถี่แสงพลังงานโฟดตอิเล็กตรอนจะมีค่าลดลง เพราะผลของความเฉื่อยของมวลอิเล้กตรอน
|
|
|
24
|
ฟิสิกส์ 2 / กลศาสตร์ควอนตัม / Re: การทดลองเสมือน ฟิสิกส์ 2000 เรื่อง พฤติกรรมประหลาดทางควอนตัม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:42:59 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.42 น มีความคิดเห็นว่า เพราะแสงเป็นคลื่น มันจึงเกิดการแทรกสอดแบบหักล้างและเสริมกันได้ ถ้าเป็นการแทรกสอดแบบเสริมกัน คือ ยอดคลื่นของคลื่นกระบวนหนึ่ง เสริมกับยอดคลื่นของอีกกระบวนหนึ่ง แต่ถ้าเป็นการแทรกสอดแบบหักล้างกัน คือยอดคลื่นของกระบวนหนึ่ง หักล้างกับท้องคลื่นของอีกกระบวนหนึ่ง การแทรกสอดของคลื่นแสงเหมือนกับการแทรกสอดของคลื่นน้ำ ช่วยให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ผมจะทดลองสร้างช่องแคบ 2 ช่องกั้นคลื่นน้ำในถาด เมื่อคลื่นจากช่องแคบทั้งสองแทรกสอดกัน มันจะเกิดริ้วรอยการแทรกสอดแบบเสริมและหักล้างกระจายทั่วไปในถาด บริเวณที่เป็นสีขาว เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกัน และเป็นยอดคลื่น ส่วนสีดำคือท้องคลื่น ส่วนบริเวณเรียบ เป็นส่วนที่หักล้างกัน ช่องแคบคู่ คลื่นแสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงกว่าคลื่นน้ำมากเราจึงไม่เห็นการกระเพื่อมขึ้นลงเหมือนกับคลื่นน้ำ แต่จะเห็นเป็นริ้วรอยมืดและสว่าง ซึ่งก็คือการแทรกสอดแบบเสริมและหักล้างไปปรากฎบนฉากแทน เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งผ่านช่องแคบคู่ มันเกิดการแทรกสอดขึ้น มีริ้วรอยแทรกสอดแบบเสริมและหักล้างกันบนฉาก เหมือนกับการแทรกสอดของแสงเลเซอร์ เรียกปรากฎการณ์นี้ว่า ทวิภาพของอนุภาคและคลื่น คืออิเล็กตรอนสามารถอยู่ได้ทั้ง 2 สภาวะ เป็นไปได้ทั้งอนุภาค
|
|
|
25
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองการแทรกสอดของแสง
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 07:16:37 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 19.16น มีความคิดเห็นว่า โทมัส ยัง (Thomas Young) ได้ทดลองให้เห็นการแทรกสอดของคลื่นโดยใช้แสงไฟจากการเผาโลหะโซเดียม แสงที่ได้จะเป็นแบบอาพันธุ์ ใช้ชิ่งแคบเล็กๆ 2 ช่อง ซึ่งห่างกัน d (duble slit) เมื่อแสงผ่านช่องแคบนี้จะทำให้เกิดหน้าของคลื่นของแสงชุดใหม่ 2 ชุด ซึ่งมีเฟสหมือนกันทุกประการ แสงทั้ง 2 ขบวนพบกันบนฉากจะเกิดริ้วรอยการแทรกสอดบนฉากซึ่งเป็นแถบมืดและสหว่างสลับกัน
|
|
|
26
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ชีวิตการทำงานของไอน์สไตน์
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 07:09:16 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 19.08น มีความคิดเห็นว่า เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2
|
|
|
27
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: จอคอมพิวเตอร์กระเป๋าหิ้ว physics2000
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 07:01:11 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 19.00น มีความคิดเห็นว่า จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
28
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: การทดลองเรื่องเวลาสัมพัทธ
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 06:58:00 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 18.58น มีความคิดเห็นว่า ไอสไตน์ ได้สร้างทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษบนสมมติฐาน 2 ข้อหรือเรียกว่า สัจพจน์ ดังนี้ 1. สัจพจน์สัมพันธ์ กฏของฟิสิกส์เป็นจริงทุกๆ กรอบเฉื่อย 2. สัจพจน์ของความเร็วแสง อัตราของเร็วของแสงในสูญญากาศที่วัดในกรอบเฉื่อย จะมีค่าเท่ากัน ไม่ว่าสภาวะการเคลื่อนที่จะเป็นเช่นใด
|
|
|
29
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: การทดลองของทอมกับเจน
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 06:55:11 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 18.55น มีความคิดเห็นว่า 1.เมื่อเปลี่ยนความเร็วของยานอวกาศ -จะเห็นว่ายานอวกาศมีความเร็วมากขึ้นเท่าใดอายุของเจนและทอมก็ยิ่งมีอายุต่างกันมากขึ้นโดยเจนจะมีอายุน้อยกว่าทอมเมื่อกลับลงสู่พื้นโลก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอัตราความเร็วของยานอวกาศด้วย 2.ส่งยานอวกาศไปยังดวงดาว 2 แห่ง แห่งแรกอยู่ใกล้ แห่งทีสองอยู่ไกล ด้วยความเร็วที่เท่ากัน -จากการทดลองในความเร็วที่เท่ากันจะได้ว่า ดวงดาวที่อยู่ใกล้อายุของเจนและทอมจะมีความต่างกันไม่มากนัก แต่ถ้าเราไปยังดวงดาวที่อยู่ไกล อายุของเจนและทอมก็ยิ่งมีความแตกต่างกันมากขึ้นโดยเจนจะมีอายุน้อยกว่าทอมเมื่อกลับลงสู่พื้นโลก แสดงให้เห็นว่าระยะทางมีส่วนที่ทำให้อายุ ของเจนและทอมแตกต่างกันแน่นอน 3.ถ้าคุณตั้งอายุเริ่มต้นของเจนและทอมให้เท่ากัน คุณจะต้องตั้งความเร็วและระยะทางอย่างไร ให้ทอมกับเจนมีอายุใกล้เคียงกันเมื่อยานอวกาศกลับถีงพื้นโลก -จากการทดลดงที่จะทำให้อายุของทั้งสองคนใกล้เคียงที่สุดก็คือ ต้องลดอัตราความเร็วของยานอวกาศให้น้อยที่สุด และไปยังดวงดาวที่อยู่ใกล้ที่สุด จึงจะทำให้ อายุของทั้งสองมีความใกล้เคียงกันมากที่สุด
|
|
|
30
|
ฟิสิกส์ 2 / ทฤษฎีสัมพัทธภาพ / Re: ทฤษฎีสัมพัทธภาพของ อ.สุวิทย์ ชวเดช
|
เมื่อ: มกราคม 27, 2011, 06:52:09 pm
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 18.52น มีความคิดเห็นว่า อัตราเร็วแสงมีค่ามากกว่าอัตราเร้วของเสียงอย่างมากมาย -เดส์การ์ตส์ คิดว่าแสงมีอัตราเร็วมากมายอย่างไม่สิ้นสุดหรืออนันต์ -กาลิเลโอ และบรรดานักวิทยาศาสตร์ในสมัยเดียวกันกับเขาต่างก็คิดกันว่า แสงมีอัตราเร็วจำกัดค่าหนึ่ง คุณสมบัติของแสง -อัตราเร็วของแสง186000ไมล์ต่อวินาที ในเวลา1วินาที แสงสามารถเดินทางได้ระยะเท่ากับระยะทางรอบโลก โดยรวมประมาณ7รอบทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ -แสงเป็นคลื่นเดียวกับคลื่นวิทยุ คลื่นอินฟราเรด ซึ่งเราเรียกคลื่นแบบนี้ทั้งหมดว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
|
|
|
|