แสดงกระทู้
|
หน้า: [1] 2 3
|
1
|
ฟิสิกส์ 2 / ศักย์ไฟฟ้า / Re: หน่วยวัดปริมาณทางไฟฟ้า
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 07:09:43 pm
|
แรงดันไฟฟ้า หรือเรียกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ จากกฎของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเส้นแรงแม่เหล็กบริเวณลวดตัวนำไฟฟ้า 100 ล้านเส้น ในเวลา 1 วินาที จะเกิดแรงดันไฟฟ้าขึ้นในลวดตัวนำนั้น 1 โวลต์หรือลวดตัวนำไฟฟ้า 1 เส้น วิ่งตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กจำนวน 100 ล้านเส้นในเวลา 1 วินาที จะเกิดแรงดันไฟฟ้าขึ้นในลวดตัวนำนั้น 1 โวลต์ สัญลักษณ์ (V) หน่วยใหญ่กิโลโวลต์ (Kv) หน่วยเล็ก มิลลิโวลต์ (mv)
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 19.10น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
1 กิโลโวลต์ (Kv) = 1,000 โวลต์ (V) 1 โวลต์ (V) = 1,000 มิลลิโวลต์ (mV)
1. แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์(Volt)ใช้ตัวย่อว่า V แรงดันไฟฟ้า 1 โวลต์ หมายถึง แรงดันที่ทำให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ไหลผ่านเข้าไปในความต้านทาน 1 โอห์ม 2. กระแสไฟฟ้า เราทราบแล้วว่าการไหลของอิเล็กตรอนในตัวนำไฟฟ้านั้นเรียกว่า กระแสไฟฟ้าซึ่งมีหน่วยวัดเป็นแอมแปร์ใช้ตัวย่อ ว่า (A) กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์คือกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำไฟฟ้าสองตัวที่วางขนาดกันมีระยะห่างกัน 1 เมตร แล้ว ทำให้เกิดแรงแต่ละตัวนำเท่ากับ นิวตันต่อเมตร 3. ความต้านทานไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า หมายถึง การต้านทานการไหลของไฟฟ้าซึ่งมีหน่วยวัดเป็นโอห์ม ใช้ตัวย่อว่า ความ ต้านทานไฟฟ้า 1 โอห์ม คือ ความต้านทานต่อกระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ที่ไหล ผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้า แล้วทำให้เกิดกำลังไฟฟ้า 1 วัตต์
|
|
|
2
|
ฟิสิกส์ 2 / ความกว้างของสายฟ้า / Re: ความกว้างของสายฟ้า
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 07:06:40 pm
|
เพราะสายฟ้าไม่ได้เป็นเส้นตรงทีเดียวนัก แต่เนื่องจากมีความยาวมากจึงพออนุโลมได้ว่า สายฟ้าเป็นเส้นประจุ ตรงยาวอนันต์ โดยมีสูตรการหาสนามไฟฟ้าของเส้นประจุตรงยาวอนันต์
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 19.07น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
E = λ/2∏ε0г
สนามไฟฟ้า E จะมีทิศพุ่งออกในแนวรัศมีของเส้นประจุ และจะลดลงเมื่อห่างจากเส้นประจุ สนามไฟฟ้าค่าต่ำสุดที่สามารถทำให้อากาศแตกตัวเป็นประจุ = 3×10^6 N/C แทนค่าต่างๆลงในสมการบนจะได้
г = λ/2∏ε0E
= 1×10^-3 C/M _______________________________________ (2∏)(8.85×10^-12 C^2/N.M^2)(3×10^6 N/C)
= 6 M
|
|
|
3
|
ฟิสิกส์ 2 / ความกว้างของสายฟ้า / Re: ฟ้าผ่า
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 07:04:48 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา19.05น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจะเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ลูกเห็บตก มีลมกระโชกแรงเป็นครั้ง คราว โดยในรอบ 1 ปี ทั่วโลกมีพายุฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นถึง 16 ล้านครั้ง โดยเฉพาะในเขตละติจูดสูง และในเมืองที่อากาศร้อนชื้นจะมีจำนวนวันที่มีพายุฝนฟ้าคะนองเกิดได้ถึง 80 - 160 วันต่อปี สำหรับประเทศไทยมักเกิดมากในเดือน เมษายน - พฤษภาคม เป็นช่วงที่เกิดพายุฝนฟ้าคะนองมากที่สุด ขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจะเกิดฟ้าแลบ โดยเกิดขึ้นพร้อมกับฟ้าร้อง แต่มนุษย์เรามองเห็นฟ้าแลบก่อนได้ยินเสียงฟ้าร้อง เนื่องจากแสงเดินทางเร็วกว่าเสียง (แสงมีอัตราเร็ว 300,000 กิโลเมตร/วินาที ส่วนเสียงมีอัตราเร็ว 1/3 ของแสง) ประกายไฟฟ้าของฟ้าแลบ 1 ครั้ง มีปริมาณไฟฟ้าจำนวนสูงถึง 200,000 แอมแปร์ และมีความต่างศักย์ถึง 30 ล้านโวลต์ ฟ้าแลบเกิดจากประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่จากก้อนเมฆสู่ก้อนเมฆ จากก้อนเมฆสู่พื้นดิน โดยมีขั้นตอนคือ ประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ถ่ายเทในก้อนเมฆมีการเคลื่อนที่หลุดออกมาและถ่ายเทสู่อาคารสิ่งก่อสร้าง หรือต้นไม้สูงบนพื้นดิน เหตุการณ์เหล่านี้ใช้เวลาน้อยกว่า 1 วินาที และเกิดเป็นแสงของฟ้าแลบ ซึ่งบางครั้งลำแสงมีความยาวถึง 60 - 90 เมตร การเกิดฟ้าร้อง เนื่องจากประกายไฟฟ้าของฟ้าแลบทำให้อากาศในบริเวณนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึงประมาณ 25,000 องศาเซลเซียส อย่างเฉียบพลัน มีผลทำให้อากาศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้เกิดเสียง "ฟ้าร้อง" เนื่องจากฟ้าร้องและฟ้าแลบเกิดขึ้นพร้อมกัน ดังนั้นเมื่อเรามองเห็นฟ้าแลบ และนับจำนวนวินาทีต่อไปจนกว่าจะได้ยินเสียงฟ้าร้อง เช่น ถ้านับได้ 3 วินาที แสดงว่าฟ้าแลบอยู่ห่างจากเราไปประมาณ 1 กิโลเมตร และสาเหตุที่เราได้ยินเสียงฟ้าร้องครวญครางอย่างต่อเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากมีสาเหตุมาจากการเดินทางของเสียงมีความต่างกันในเรื่องของระยะเวลาและระยะทางที่คาบเกี่ยวกันนั่นเอง การเกิดฟ้าผ่า เป็นปรากฏการควบคู่กันกับฟ้าแลบ และฟ้าร้อง เนื่องจากประจุไฟฟ้าได้มีการหลุดออกมาจากกลุ่มเมฆฝน และถ่ายเทลงสู่พื้นดิน ต้นไม้ อาคารหรือสิ่งก่อสร้าง ตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ฟ้าผ่าอาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ เนื่องจากมีพลังงานไฟฟ้าสูง ความรุนแรงของกระแสไฟฟ้าจากฟ้าผ่าเพียงพอที่จะจุดหลอดไฟฟ้าขนาด 60 แรงเทียนให้สว่างได้ถึงจำนวน 600,000 ดวง เลยทีเดียว
|
|
|
4
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้าสถิต / Re: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการเกิดประจุ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:43:06 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.43 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สรุป การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ) ตัวนำและฉนวน ฉนวนไฟฟ้าปกติจะมีการนำไฟฟ้าเป็นกลาง คือมีอิเล็กตรอนเท่ากับประจุบวก
|
|
|
5
|
ฟิสิกส์ 2 / ไฟฟ้าสถิต / Re: การทดลองเสมือนจริงเรื่อง กฎของคูลอมบ์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:39:53 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.38 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ใบบันทึกผล q1 = 5.0 x 10-6 C q2 = 2.0 x 10-6 C ปรับค่า r12 จำนวน 5 ค่า บันทึกค่าลงในตาราง r12 = 95 cm. F12= 10 x 10-6 C r12 = 90 cm. F12= 11 x 10-6 C r12 = 77 cm. F12= 15 x 10-6 C r12 = 102 cm. F12= 9 x 10-6 C r12 = 121 cm. F12= 6 x 10-6 C
|
|
|
6
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: แผ่นใสเรื่อง ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:18:16 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.18น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จากเนื้อหาในแผ่นใสนี้ จะกล่าวถึงสนามแม่เหล็ก และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การเหนี่ยวนำ และการนำสนามแม่เหล็กมาใช้ประโยชน์
|
|
|
7
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: การสั่นในวงจร LC
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:13:08 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.13 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จากวงจร เมื่อตัวเก็บประจุประจุไฟจนเต็ม เมื่อจ่ายกระแสให้กับขดลวด ขดลวดจะแสดงอำนาจสนามแม่เหล็กออกมา เมื่อแรงดันไฟจากตัวเก็บประจุลดลงจนหมด สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะยุบตัวกลับ ตัดผ่านกับสนามแม่เหล็ก เกิดการเหนี่ยวนำในตัวเองไปชาร์จตัวเก็บประจุอีกครัง สลับกันไปเช่นนี้เรื่อยๆๆ
|
|
|
8
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: มอเตอร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:09:42 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.10น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล ซึ่งตรงข้ามกับไดนาโมที่เปลียนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า มีส่วนประกอบที่สำคัญคือ 1. โรเตอร์หรือสเตเตอร์ 2.แม่เหล็กถาวร 3. เพลายึดโรเตอร์ 4.แปรงถ่านจ่ายแรงดันสู่ขดลวด 5.ฝาครอบ
|
|
|
9
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: อแดปเตอร์แปลงไฟขนาดเล็ก (Adaptor)
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:05:30 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.06 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
หลักการของอแดปเตอร์แปลงไฟ จะมีดังนี้ - ลดระดับแรงดันไฟ 220 v ลดลงมาให้ระดับแรงดันต่ำลง - ผ่านการเรียงกระแสโดยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คือไดโอดนั่นเอง - ผ่านการกรองกระแส โดยตัวเก็บประจุหรือวงจรกรองกระแสแบบอื่นๆๆ - สุดท้ายผ่านการเรกกูเลเตอร์ เพื่อทำไฟตรงที่ออกมาให้มีค่าคงที่และเรียบ นิ่งตลอดการทำงาน
|
|
|
10
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง กฏการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:59:46 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 18.00น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จากการทดลองจะสังเกตได้ว่า เมื่อขยับแท่งแม่เหล็กผ่านขดลวดแล้ว จะมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้ โดยดูจากเข็มของกัลวานอมิเตอร์ ส่วนทิศทางการเบนของเข็มจะขึ้นอยู่กับทิศทางการเคลื่อนที่ของสนามแม่เหล็กที่ตัดผ่านขดลวด
|
|
|
11
|
ฟิสิกส์ 2 / การเหนี่ยวนำ / Re: ลำโพง
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:53:45 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.54 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ส่วนสำคัญที่สุดของเครื่องเล่นเพลงก็คือลำโพง โดยหน้าที่สำคัญสุดของลำโพงคือ เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มาจากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง ใบลำโพงทำด้วยกรวยกระดาษ ติดอยู่กับคอยส์เสียง เมื่อคอยส์เสียงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับ มันจะทำให้ใบลำโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลำโพงจะติดอยู่บนสไปเดอร์ ที่ทำหน้าที่เหมือนสปริง คอยดึงใบลำโพงที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่ตำแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณไฟฟ้าป้อนเข้าลำโพง
|
|
|
12
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:44:51 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.45น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เลือกทำ 10 ทำได้ 5 ข้อ
|
|
|
13
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: วีดีโอเรื่อง รถไฟแม่เหล็ก
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:40:32 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.41 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จากการคิดค้นสนามแม่เหล็กของไมเคิล ฟาราเดย์ ทำให้การนำไปใช้อย่างแพร่หลาย ทั้งอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า แม้กระทั่งรถไฟที่สามารถเอาสนามแม่เหล็กมาใช้ได้
|
|
|
14
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: แผ่นใสเรื่อง กฎของบิโอต์-ซาร์วารต์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:36:42 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.37น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากกฏของบิโอต์ ซาร์วาร์ต เป็นเนื่อหาที่เกี่ยวกับประจุไฟฟ้า และการคำนวณหาขนาดของประจุ ปริมาณประจุ และพารามิเตอร์อื่นๆๆที่เกี่ยวข้อง
|
|
|
15
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: การทดลองเสมือนเรื่อง การเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:31:00 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.31น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การเคลื่อนที่เป็นเกลียวในสนามแม่เหล็กจะเกิดขึ้นในกรณีที่ทิศของความเร็วทำมุม ซีต้า ใด ๆ กับทิศของสนามแม่เหล็ก ความเร็วจะถูกแตกออกเป็นสองส่วน คือความเร็วย่อยในแนวตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ซึ่งจะทำให้ประจุเคลื่อนที่เป็นวงกลม และความเร็วย่อยในแนวขนานกับสนามแม่เหล็ก ซึ่งจะทำให้ประจุเคลื่อนที่ไปในทิศขนานกับสนามแม่เหล็ก ประจุจึงเคลื่อนที่เป็นเกลียว
|
|
|
16
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: เข็มทิศ (compass)
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:25:38 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.26 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เหตุผลที่ว่าทำไมเข็มทิศจึงชี้ไปทางขั้วเหนืออยู่เสมอ ก็เพราะว่า โลกของเราเปรียบได้กับแท่งแม่เหล็กขนาดใหญ่ โดยเราตั้งมาตรฐานร่วมกันว่า แม่เหล็กที่อยู่ในโลกขั้วเหนือของโลกให้เป็นขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กโลก จากปรากฎการณ์ทางแม่เหล็กที่ว่า ถ้าขั้วแม่เหล็กเหมือนกันวางไว้ใกล้กันจะผลักกัน และถ้าขั้วต่างกันจะดูดกัน ดังนั้นถ้าเราวางเข็มทิศ และให้เข็มชี้ไปทางเหนือ แสดงว่า แท่งแม่เหล็กโลกต้องเป็นขั้วใต้อยู่ที่ขั้วโลกเหนือ สนามแม่เหล็กโลกมีขนาดน้อยมากเมื่อวัดบนผิวโลก เป็นเพราะเส้นผ่าศูนย์กลางของโลกมีขนาดถึง 12,000 กิโลเมตร ดังนั้นเข็มทิศจึงต้องทำจากแท่งแม่เหล็กที่มีขนาดเบา และวางอยู่บนผิวลื่นที่ไม่มีแรงเสียดทาน ซึ่งจะทำให้หมุนได้ง่ายและคล่องแม้มีแรงที่เกิดจากสนามแม่เหล็กที่น้อยมากดังเช่นสนามแม่เหล็กโลก
|
|
|
17
|
ฟิสิกส์ 2 / สนามแม่เหล็ก / Re: เรือพลังงานแม่เหล็ก
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:21:01 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 17.21น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สภาวะการนำยิ่งยวด คือ การที่ตัวนำนั้นไม่มีความต้านทานไฟฟ้าอยู่หรือความต้านทานทางไฟฟ้าเป็นศูนย์ที่อุณหภูมิต่ำ พบครั้งแรกในปรอท แต่เมื่อมีการค้นพบตัวนำยวดยิ่งที่อุณหภูมิสูง ซึ่งสามารถใช้ไนโตรเจนเหลว ที่มีราคาแพงหล่อเย็นแทนได้ ทำให้การประยุกต์ใช้งานในปัจจุบันมีความเป็นไปได้มาก คือ การทำแม่เหล็กไฟฟ้าที่ให้สนามแม่เหล็กสูง ต้องใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก จึงต้องใช้ตัวนำยวดยิ่ง ซึ่งสามารถผ่านกระแสเข้าไปได้จำนวนมหาศาล ปัจจุบันได้นำมาประยุกต์ใช้ในการถ่ายรูปอวัยวะภายใน ใช้ในเทคโนโลยีเครื่องจักรไฟฟ้าขนาดเล็ก และรถไฟแม่เหล็ก
|
|
|
18
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: กำแพงเมืองจีนกับภาพเขียนของนายจอร์จ เซอร์ราจ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:52:11 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.52 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เมื่อวัตถุ2ชิ้นอยู่ไกล เช่น ดวงดาว2ดาวมีระยะห่างเชิงมุมน้อยมากต้องการให้ได้ภาพวัตถุแยกกัอย่างชัดเจน เลนส์กล้องโทรทัศน์ที่ใหญ่ที่สุดอยู่ที่ Yorks Observatory ประเทศ สหรัฐอเมริกา มีเลนส์เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 นิ้ว แยกภาพวัตถุที่ห่างกัน 47 ฟิลิปดาได้
|
|
|
19
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: คอมแพคดิสก์ กับการแทรกสอด
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:44:39 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.45 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จากเนื้อหาของแสงเลเซอร์กับคอมเเพ็คดิสก์ ทำให้ทราบว่า แสงที่ฉายไปยังแผ่นดิสก์นั้น สามารถอ่านรายละเอียดของข้อมูลในดิสก์ได้
|
|
|
20
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองการแทรกสอดของแสง
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:39:18 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.39 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี นักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ ชื่อโทมัส ยัง(Thmas Yong) ได้ทำการทด เรื่องการแทรกสอดของคลื่น โดยใช้แสงไฟจากการเผาโลหะโซเดียม แสงที่ได้จะเป็นแบบอำพันธ์ ใช้ช่องแคบเล็กๆวางห่างกัน เมื่อแสงผ่านช่องแคบนี้ จะทำให้เกิดคลื่นแสงชุดใหม่
|
|
|
21
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: ปีกผีเสื้อ
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:34:00 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.34 น. ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สีที่เรามองเห็นบนปีกผีเสื้อเกิดจากแทรกสอดแบบเสิมกันของแสงที่สะท้อนจากเม็ดสีที่อยู่บนปีกของผีเสื้อมีลักษณะเป็นชั้นแต่ละชั้นประกอบด้วยเม็ดสีมากมายภาพตัดของเม็ดและชั้นของเม็ดสี ชั้นของเม็ดสีดัชนีหักเห n=1.53และมีความหนา Pt=63.5nm ถัดไปเป็นชั้นอากาศ ถ้าแสงที่ส่องเข้าตั้งฉากกับชั้นสี
|
|
|
22
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองเรื่องตาและการมองเห็น
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:19:25 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.21 pm ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเลนส์สายตาสำหรับคนสายตายาวทำหน้าที่ต่อผู้ใช้แว่นนั้นอย่างไร 1.ย้ายวัตถุที่ระยะ25cm.จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด 2.ย้ายวัตถุที่ระยะ25cm.จากตาไปไว้ที่ระยะอนันต์ 3.ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไวที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองดห็นชัด
|
|
|
23
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: การทดลองเรื่องภาพที่เกิดจากกระจกโค้งนูน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:10:50 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.02 pm ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การใช้เครื่องหมายเพื่อจำแนกชนิดกระจกได้ดังนี้ 1.ระยะวัตถุจะมีค่าเป็นบวกเมื่อวัตถุอยู่ด้านเดียวกับแสงที่ตกกระทบ 2.ระยะภาพจะเป็นบวกเมื่อเป็นภาพจริง เป็นภาพลบเมื่อเป็นภาพเสมือน 3.รัศมีจะเป็นบวกกระจกโค้งเว้า เป็นลบเมื่อเป็นกระจกโค้งนุน
|
|
|
24
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: วีดีโอเรื่องแสงคืออะไร
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:09:27 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.09 pm ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีเซอร์ไอแซคนิวตัน บอกว่าให้แสงสีขาวของดวงอาทิตย์ใช้ผ่านปริซัมใช้แยกแล้วแยกทุกสีของสายรุงจากแสงสีขาวนั้นแสดงให้เห็นว่าแสงสีขาวนั้นเป็นภาพรวม และสีรุ่งทั้ง7สีสามารถรวมกันเป็นแสงสีขาวได้ และนิวตันคิดว่าแสงสีขาวก็เป็นอนุภาคเหมื่อนกัน แสงก็มาจากอนุภาค
|
|
|
25
|
ฟิสิกส์ 2 / แสงและการมองเห็น / Re: ภาพลวงโลก
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:03:09 pm
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115340411107-8 sec 17 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/54 เวลา 16.02 pm ที่หอพัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จุดที่ผิดของรูปอยู่ที่การสะท้อนของภาพในกระจกหลังผู้หญิงใบหน้าเศร้าคนนี้ มี3จุด -จุดแรก ให้สังเกตที่ด้านซ้าย ภาพของขวดที่สะท้อนในกระจกอยู่ไกลจากความเป็นจริง ถ้าสังเกตได้ยาก ให้ดูจากขอบโต๊ะเป็นหลัก -จุดที่สอง ผู้หญิงกำลังมองไปข้างหน้า ภาพสะท้อนในกระจกควรจะอยู่ข้างหลังของเธอ แต่ภาพสะท้อนไปอยู่ทางด้านขวา -จุดสุดท้าย คือ ชายที่มองเธอ ซึ่งอาจจะเป็นคนวาดนั่นแหละก็มีทิศทางผิดพลาดไปด้วย
|
|
|
26
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: ระเบิดนิวเคลียร์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:20:00 am
|
นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout)คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสีจะตกลงมาบนพื้นหลังจากการระเบิดแล้ว นายสุรพงษ์ จำปานาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8 เลขที่ 5 sec 17 สถานที่ บ้าน วันที่ 4/1/2554 เวลา 1.20 น.
|
|
|
27
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: โครงการแมนแฮตตัน
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:16:10 am
|
โครงการแมนแฮตตัน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา นายสุรพงษ์ จำปานาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8 เลขที่ 5 sec 17 สถานที่ บ้าน วันที่ 4/1/2554 เวลา 1.16 น.
|
|
|
28
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: การทดลองเสมือน เรื่องการหาอนุกรมการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:10:50 am
|
เมื่อเลือกTh232 จะเห็นว่าแท่งกราฟสีแดงจะลดลงอย่างรวดเร็วและแท่งกราฟPb208จะพุ่งสูงขึนและtimestep 1.39 เมื่อเลือก u238 จะเห็นว่ามีตัวธาตุเพิ่มขึ้น u234 Th230 Ra226 Pb210 Pb206 กราฟจะพุ่งขึ้นทางด้าน pb210 ตามลำดับ และจะค่อยๆลดลงแต่แท่งกราฟจะไม่สูงขึ้นจนสุด แต่ธาตุ Pb206 จะใม่ลง เมื่อเลือกPu2411 จะเห็นว่ามีธาตุ Pu241 Am241 Np237 U233 Th229 เมือกดปุ่ม Animate จะเห็นว่ามีการพุ่งขึ้นของกราฟทั้งหมดโดยเรียงตามลำดับ จากนั้นจะค่อยลดลงตามลำดับ นายสุรพงษ์ จำปานาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8 เลขที่ 5 sec 17 สถานที่ บ้าน วันที่ 4/1/2554 เวลา 1.11 น.
|
|
|
29
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: หญิงเหล็กกับเรเดียม
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:04:15 am
|
นายสุรพงษ์ จำปานาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8 เลขที่ 5 sec 17 สถานที่ บ้าน วันที่ 4/1/2554 เวลา 1.04 น.
มารี กูรี เป็นผู้ค้นพบเรเดียมซึ่งเปล่งกัมมันตภาพรังสีออกมาโดยธรรมชาติในขณะที่อะตอมแตกตัว เมื่ออายุได้ 27 ปีมารี พบรักกับ ปิแอร์ กูรี ทั้งสองตกลงแต่งงานกัน ปิแอร์กูรี ทำงานเป็นผู้ช่วยปฏิบัติการมหาวิทยาลัยปารีส ปิแอร์กับฌากส์ พี่ชายศึกษาเรื่องความร้อน ผลึก สภาวะแม่เหล็กและไฟฟ้า อีกสี่ปีถัดมา เขาดำรงตำแหน่งอาจารย์ที่ปรึกษาที่เอกอล เดอ ฟิสิกส์ (มหาลัยฟิสิกส์) ปิแอร์ กูรีได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตจากผลงานการศึกษาเรื่องสภาวะแม่เหล็ก มารี มาทำงานร่วมกับสามีที่มหาวิทยาลัยฟิสิกส์ เธอศึกษาเรื่อง คุณสมบัติของม่เหล็กของโลหะผสมหลายชนิด และเขียนบทความชิ้นแรกส่งไปตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ ปิแอร์และฌากส์ กูรี ประดิษฐ์มาตรศักย์ไฟฟ้าสถิต ใช้ตรวจวัดว่า สารมีการปล่อยรังสีออกมาหรือไม่ หากสารนั้นมีการปล่อยกัมมันตภาพรังสี อากาศรอบข้างจะมีประจุไฟฟ้า
|
|
|
30
|
ฟิสิกส์ 2 / นิวเคลียร์ / Re: นิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์
|
เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 12:57:04 am
|
นิวเคลียร์สามารถนำมาใช้ประโยชน์หลายด้านดังนี้ 1.การแพทย์ 2.เกษตรกรรม 3.อุตสาหกรรม 4.พลังงาน 5.การเกษตร เป็นต้น นายสุรพงษ์ จำปานาค วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8 เลขที่ 5 sec 17 สถานที่ บ้าน วันที่ 4/1/2554 เวลา 0.57 น
|
|
|
|