ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: พฤศจิกายน 25, 2010, 09:26:13 am » |
|
หลักการก็วงจร step up ธรรมดาๆครับ ชุดแรกก็เป็น ออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ ชุดต่อมาก็เป็น stepup แบบ ladder จะกี่ขั้นก็แล้วแต่ยี่ห้อ คลิกครับ
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 03:21:07 pm » |
|
ผมนายศิวภัทร์ รัตนสมบูรณ์ รหัส 115330411024-6 เลขที่ 18 วิศวกรรมโยธา sec.4 วันที่ 26/11/53 เวลา 3.15 pm ที่หอลากูลแมนชั่น วงจรภายในมีดังนี้ จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอร์รี่ ไม้ตียุงไฟฟ้ามีทั้งหมด 2 วงจร 1.วงจรแบบง่าย 2.วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
ศราวุธ พูลทรัพย์
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 07:21:55 pm » |
|
นายศราวุธ พูลทรัพย์ 115330411042-8 sec.04 เลขที่ 35 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ตอบกระทู้ที่หอลากูล วันที่ 26/11/2553 เวลา 19.21น. เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ ไม้ตียุงไฟฟ้ามีทั้งหมด 2 วงจร 1.วงจรแบบง่ายคือจะให้แรงดันไม่มากนัก 2.วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้าจะมีการดัดแปลมาจากวงจรแบบง่าย ทั้งนี้ความแรงของแรงดันก็ขึ้นกับว่าใช้ยี่ห้อไหน
|
|
|
|
leonado_davinci
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 07:40:49 pm » |
|
Jakrapong Mensin นายจักรพงศ์ เม่นสิน วิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411015-4 sec 4 เลขที่ 12 ตอบกระทู้วันที่ 26/11/53 เวลา 7.40 pm ที่ห้องสมุด มทร. วงจรในไม้ตียุงที่เราเห็นกันตามท้องตลาดก็จะเป็นวงจรง่ายๆ แต่ก็ได้ผลดีเยี่ยม ในวงจรก็ประกอบด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ โดยจะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่มาเพิ่มแรงดันไฟฟ้าเข้าไปทำให้แม้แต่ยุงก็ตายได้...........
|
|
|
|
Chantana
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 08:48:47 pm » |
|
นางสาวฉันทนา ไกรสินธุ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา สถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 41 รหัส 115310903002-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26/11/2553 เวลา 20:48 สถานที่ หอในตึก 3 สรุปได้ว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 09:17:26 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติประยุกย์ วัน 26/11/53 เวลา 21.11 น. สถานที่ บ้านตัวเอง
ส่วนประกอบของไม้ตียุง ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ วงจรเรียงกระแสอักแบตเตอร์รี่ วงจรไฟฟ้าภายใน จะเป็นออสซิเลเตอร์ต่อเป็นวงจรเล็กๆ วงจรจะเพิ่มเเรงดันไฟฟ้าดัดแปลงวงจรชาร์จใหม่ให้ไม้ตียุง การต่อวงจร จะมี 2 ลักษณะ คือ ต่อวงจรแบบง่าย และต่อแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 08:31:19 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452022-4 เลขที่ 31
ตอบกระทู้ เมื่อ 27 พ.ย 53 เวลา 20.31 น. ที่ หอพัก
วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ หลักการ ทำงานคือ เมื่อแรงดันชาร์จ C สูงถึงแรงดันทำงานของ Sidac ตัว Sidac จะลัดวงจรตัวเอง ทำให้ประจุใน C ที่มีแรงดันประมาณ 230V วิ่งเข้าไปใน Pulse Transformer สร้างแรงดันออกมา 4-5 kV เป็นพัลส์ประมาณ 1us (หนี่งไมโครวินาที - หนึ่งในล้านของวินาที) . สามารถสร้างสปาร์ก หรือประกายไฟกระโดดได้ประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ซึ่งวงจรนี้ใช้ C ค่าประมาณ 470nF ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานไม่มาก แต่ ออกมาในเวลาสั้นนิดเดียว เรียกว่าเป็น impulse ครับ พลังงานที่ปล่อยออกมาใน 1 สปาร์ก คือประมาณ 15,000วัตต์ (Watt, W) ในเวลาหนึ่งส่วนในหนึ่งล้านส่วนของวินาที
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 10:21:52 am » |
|
กระผมนายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441213-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 10.21น ความคิดเห็นว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Penprapa
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 10:49:42 am » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร เลขที่ 34 กลุ่ม 2 รหัส 115210904029-3 วันที่ 28 พย 53 เวลา 10.47 น ณ วิทยะบริการ สรุปว่า ส่วนประกอบของไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตระแกรงสังหารยุง ด้ามจับ แบตเตอร์รี่ไฟฟ้า และปลั๊กไฟ วงจรมีการทำงาน 2 แบบ คือ วงจรแบบง่ายและวงจรเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 11:01:58 am » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า เลขที่55 sec 02 รหัส 115310903038-3 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่28/11/53 เวลา 10.52น. สถานที่บ้านของตนเอง อธิบายได้ว่า ไม้ตียุงประกอบด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่ายๆ และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 05:37:40 pm » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411016-2 เลขที่ 13 กลุ่ม53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28/11/2553 เวลา17.37 น. ที่ หอพักspcondo ได้มีข้อคิดเห็นว่า ในการทำเครื่องตียุงนั้นได้อาศัยหลักในการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงในการช็อตไฟฟ้า โดยใช้วงจร step up ในการเพิ่งแรงดันไฟฟ้าของวงจรซึ่งเป็นการทำให้แรงดันของไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีชนิดของวงจรเช่น วงจรแบง่ายๆ วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
chaiwat
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 06:11:43 pm » |
|
กระผมนายชัยวัฒน์ คำพันเกิด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เครื่องกล sec.02 เลขที่ 76 รหัส 115011113029-2 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28/11/2553 เวลา 18.10 สถานที่หอพักโอนิน5 สรุปได้ว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 07:49:33 pm » |
|
นาย ชานนท์ วรรณพงษื นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหการ 115040441083-1 เลขที่ 4 sec 2 อาจารย์ผู้สอน จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28/11/2553 เวลา19.50น. ที่ หอพักได้มีข้อคิดเห็นว่า ในการทำเครื่องตียุงนั้นได้อาศัยหลักในการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงในการช็อตไฟฟ้า โดยใช้วงจร step up ในการเพิ่งแรงดันไฟฟ้าของวงจรซึ่งเป็นการทำให้แรงดันของไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีชนิดของวงจรเช่น วงจรแบง่ายๆ วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
nontapun
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 09:30:44 pm » |
|
กระผมนายนนทพันธ์ เสนาฤทธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441217-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 21.30น ความคิดเห็นว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 09:41:55 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เลขที่ 49 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 21.42 น. ความคิดเห็นว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Jantira
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 05:12:01 pm » |
|
นางสาวจันทิรา รัตนพันธุ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 58 รหัส 115310903042-5 วันที่ 29/11/2553 เวลา 17:13 น. สถานที่banoffee สรุป วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ หลักการ ทำงานคือ เมื่อแรงดันชาร์จ C สูงถึงแรงดันทำงานของ Sidac ตัว Sidac จะลัดวงจรตัวเอง ทำให้ประจุใน C ที่มีแรงดันประมาณ 230V วิ่งเข้าไปใน Pulse Transformer สร้างแรงดันออกมา 4-5 kV เป็นพัลส์ประมาณ 1us (หนี่งไมโครวินาที - หนึ่งในล้านของวินาที) . สามารถสร้างสปาร์ก หรือประกายไฟกระโดดได้ประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ซึ่งวงจรนี้ใช้ C ค่าประมาณ 470nF ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานไม่มาก แต่ ออกมาในเวลาสั้นนิดเดียว เรียกว่าเป็น impulse ครับ พลังงานที่ปล่อยออกมาใน 1 สปาร์ก คือประมาณ 15,000วัตต์ (Watt, W) ในเวลาหนึ่งส่วนในหนึ่งล้านส่วนของวินาที
|
|
|
|
mildfunta
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 07:01:54 pm » |
|
นางสาวธัญลักษณ์ มิชัยยา รหัส 1153109030607 เลขที่ 70 sec 02 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553 เวลา 18.56 น. ณ shooter internet cafe' ไม้ตียุงประกอบไปด้วยตัวเก็บประจุ ไดโอค ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการทำงานของวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์ โดยการทำงานจะอาศัยหลักการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงในการช็อตไฟฟ้า
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 09:02:37 pm » |
|
นายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411005-5 sec 4 เลขที่ 5 ตอบกระทู้วันที่ 29/11/53 เวลา 21.00 pm ที่สวนสุทธิพันธุ์ การทำไม้ตียุงดูไม่ยุ่งอยากและประหยัด จากการได้อ่านผมได้สังเกตุเห็น วงจรไม้ตียุงที่เราเห็นกันตามท้องตลาดก็จะเป็นวงจรง่ายๆ แต่ก็ได้ผลดีเยี่ยม ในวงจรก็ประกอบด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ โดยจะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่มาเพิ่มแรงดันไฟฟ้าเข้าไปทำให้แม้แต่ยุงก็ตายได้ 
|
|
|
|
Sunti
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 10:48:27 pm » |
|
Sunti Civil นายสันติ บัวงาม นศ.วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411021-2 Sec 4 เลขที่ 16 ตอบกระทู้วันที่ 29/53/53 เวลา 22:48 ณ. หอป้าอ้วน สรุปได้ว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Jutharat
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 01:50:50 am » |
|
นางสาวจุฑารัตน์นาวายนต์ sec 02 เลขที่22 รหัส 115210417050-2 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 เวลา 01.50 ณ หอRS ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Bifern
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 03:02:34 pm » |
|
นางสาวชลทิพย์ เปาทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาสถิติ รหัส115310903007-8 sec 02 เลขที่ 42 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 เวลา 14.58 น.สถานที่ บ้านตัวเอง สรุปได้ว่า ไม้ตียุง ประกอบด้วย ตะแกรงสังหารยุง ด้ามจับ แบตเตอรี่ ปลั๊กไฟ และด้ามจับประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
mukkie
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 03:35:16 pm » |
|
น.ส.ปาณิศา ไพรสยม sec02 เลขที่67 รหัส115310903054-0 ตอบวันที่30พ.ย.53 เวลา 15.32น. ที่อาคารวิทยบริการ ไม้ตียุงไฟฟ้ามีส่วนประกอบคือตะแกรงสังหารยุง ด้ามจับ แบตเตอรี่ และปลั๊กไฟ ซึ่งด้ามจับประกอบไปด้วยตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 04:01:59 pm » |
|
น.ส. กชพรรณ นาสวาสดิ์ นักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ สาขา สถิติ sec 02 เลขที่ 53 รหัส 115310903036-7 ตอบกระทู้วันที่ 30 /11/53 เวลา 16.02 น. สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ไม้ตียุงไฟฟ้ามีทั้งหมด 2 วงจร 1.วงจรแบบง่ายคือจะให้แรงดันไม่มากนัก 2.วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้าจะมีการดัดแปลมาจากวงจรแบบง่าย ทั้งนี้ความแรงของแรงดันก็ขึ้นกับว่าใช้ยี่ห้อไหน
|
|
|
|
Nueng
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 04:25:12 pm » |
|
นางสาวสมฤดี สอนชอุ่ม รหัส 115110903066-8 sec 02 เลขที่ 16 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 พ.ย. 2553 เวลา 16.24 น. ณ หอพักไพลินเพลส ไม้ตียุงไฟฟ้า ใช้งบประมาณ 70 บาทต่อหนึ่งอัน ภายนอกประกอบด้วย ตะแกรงสังหารยุง, ด้ามจับ,แบตเตอรี่,ปลั๊กไฟ วงจรไฟฟ้าภายในประกอบด้วย ตัวเก็บประจุ,ไอโอด,ทรานซิสเตอร์,วงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ ไม้ตียุงมี 2 วงจร คือ 1. วงจรแบบง่าย 2. วงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า การ Setp up ชุดแรกเป็นออสซิสเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ ชุดต่อมา Setp up แบบ ladder
|
|
|
|
alicenine
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 05:25:18 pm » |
|
นายเลิศศักดิ์ ศัลยวิเศษ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452021-6 เลขที่ 30
ตอบกระทู้ เมื่อ 30 พ.ย 53 เวลา 17.25 น. ที่ หอพัก
วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ หลักการ ทำงานคือ เมื่อแรงดันชาร์จ C สูงถึงแรงดันทำงานของ Sidac ตัว Sidac จะลัดวงจรตัวเอง ทำให้ประจุใน C ที่มีแรงดันประมาณ 230V วิ่งเข้าไปใน Pulse Transformer สร้างแรงดันออกมา 4-5 kV เป็นพัลส์ประมาณ 1us (หนี่งไมโครวินาที - หนึ่งในล้านของวินาที) . สามารถสร้างสปาร์ก หรือประกายไฟกระโดดได้ประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ซึ่งวงจรนี้ใช้ C ค่าประมาณ 470nF ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานไม่มาก แต่ ออกมาในเวลาสั้นนิดเดียว เรียกว่าเป็น impulse ครับ พลังงานที่ปล่อยออกมาใน 1 สปาร์ก คือประมาณ 15,000วัตต์ (Watt, W) ในเวลาหนึ่งส่วนในหนึ่งล้านส่วนของวินาที
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 06:59:30 pm » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4
สรุปได้ว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์กับหม้อแปลงตัวเล็กๆ หรือแบบ ladder จะกี่ขั้นตอนก็แล้วแต่ยี่ห้อ ซึ่งจะมีทั้งหมด 2 วงจร คือ วงจรแบบง่าย และวงจรแบบเพิ่มแรงดันไฟฟ้า
|
|
|
|
Pichat Soysamrong
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 07:17:27 pm » |
|
กระผม นาย พิเชษฐ์ สร้อยสำโรง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411003-0 เลขที่ 3 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา 07:16:40 pm สรุปได้ว่า ไม้ตียุงประกอบไปด้วยตัวเก็บประจุ ไดโอค ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ หลักการทำงานของวงจรเป็นแบบออสซิเลเตอร์ โดยการทำงานจะอาศัยหลักการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดันสูงในการช็อตไฟฟ้า การใช้ต้องระมัดระวังอาจเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ได้
|
|
|
|
heetoon
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 08:23:38 pm » |
|
นายราชันย์ บุตรชน นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา sec04 รหัส 115330411047-7 วันที่ 30/11/2553 เวลา 20.22 น. สถานที่Four B4 สรุป วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ หลักการ ทำงานคือ เมื่อแรงดันชาร์จ C สูงถึงแรงดันทำงานของ Sidac ตัว Sidac จะลัดวงจรตัวเอง ทำให้ประจุใน C ที่มีแรงดันประมาณ 230V วิ่งเข้าไปใน Pulse Transformer สร้างแรงดันออกมา 4-5 kV เป็นพัลส์ประมาณ 1us (หนี่งไมโครวินาที - หนึ่งในล้านของวินาที) . สามารถสร้างสปาร์ก หรือประกายไฟกระโดดได้ประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ซึ่งวงจรนี้ใช้ C ค่าประมาณ 470nF ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานไม่มาก แต่ ออกมาในเวลาสั้นนิดเดียว เรียกว่าเป็น impulse ครับ พลังงานที่ปล่อยออกมาใน 1 สปาร์ก คือประมาณ 15,000วัตต์ (Watt, W) ในเวลาหนึ่งส่วนในหนึ่งล้านส่วนของวินาที
|
|
|
|
Benjawan Onnual
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 10:00:05 pm » |
|
นางสาวเบญจวรรณ อ่อนนวล เลขที่ 49 sec 02 รหัส 1153109030326 สาขาวิชาสถิติประยุกต์ ตอบกระทู้เมื่อ 30/11/2553 เวลา 21.59 น. ณ หอพักนำรงค์แมนชัน สรุปได้ว่า ไม้ตียุงไฟฟ้านั้น ภายใยวงจรนั้นจะประกอบไปด้วย ตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และวงจรเรียงกระแสอัดแบตเตอรี่ มีแบวงจรธรรมดา กับ วงจรที่ใช้แรงดันไฟฟ้าสูง ซึ่งก็แล้วแต่ยี่ห้อ
|
|
|
|
sarisa
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: พฤศจิกายน 30, 2010, 10:06:40 pm » |
|
นางสาวสาริศา พรายระหาญ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาคณิตศาสตร์ sec02 เลขที่ 10 รหัส 115110901018-1 วันที่ 30/11/2553 เวลา 22.13 น. สถานที ร้านเน็ต shotter สรุป วงจรภายใน จะมีตัวเก็บประจุ ไดโอด ทรานซินเตอร์ วงจรจะเก็บประจุอัดไว้ในแบตเตอร์รี่ หลักการ ทำงานคือ เมื่อแรงดันชาร์จ C สูงถึงแรงดันทำงานของ Sidac ตัว Sidac จะลัดวงจรตัวเอง ทำให้ประจุใน C ที่มีแรงดันประมาณ 230V วิ่งเข้าไปใน Pulse Transformer สร้างแรงดันออกมา 4-5 kV เป็นพัลส์ประมาณ 1us (หนี่งไมโครวินาที - หนึ่งในล้านของวินาที) . สามารถสร้างสปาร์ก หรือประกายไฟกระโดดได้ประมาณ 4-5 มิลลิเมตร ซึ่งวงจรนี้ใช้ C ค่าประมาณ 470nF ซึ่งถือว่าเป็นพลังงานไม่มาก แต่ ออกมาในเวลาสั้นนิดเดียว เรียกว่าเป็น impulse ครับ พลังงานที่ปล่อยออกมาใน 1 สปาร์ก คือประมาณ 15,000วัตต์ (Watt, W) ในเวลาหนึ่งส่วนในหนึ่งล้านส่วนของวินาที
|
|
|
|
|