Sonthaya Suwaros
|
 |
« ตอบ #120 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 01:31:30 pm » |
|
นายสนธยา สุวรส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหกรรม รหัสประจำตัว 115040441089-8 วันที่ 28 ม.ค. 54 เวลา 13.30 น.ครับผม สรุปได้ว่า **จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้แต่จอจะมีเป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เราเรียกอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆนี้ว่า เซล หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง จอแบนแอลซีดี ใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว **การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล **หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล **จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี **สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้ ครับ..
|
|
|
|
tongchai
|
 |
« ตอบ #121 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 03:21:35 pm » |
|
ผมนาย ธงชัย ฉิมสุด นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) sec 17 รหัส 115340441240-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 มกราคม 2554 ณ หอพักโพธิ์ทอง เวลา 15.20น
กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี (LCD) คือหลักการโพลาไรเซชั่น จอแบนแบบแอลซีดี หรือที่เราเรียกว่า จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการทำงานแตกต่างจากโทรทัศน์ หลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เพราะว่าภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้ เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เราเรียกอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆนี้ว่า เซล หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง แต่ละเซลทำหน้าที่เหมือนกับจุดฟอสฟอรัสที่เคลือบอยู่หน้าจอโทรทัศน์ จอทีวีเราควบคุมความสว่างได้จากปริมาณกระแสที่พุ่งเข้าชนจุดฟอสฟอรัส จอแบนแอลซีดี ใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว
|
|
|
|
rungarun
|
 |
« ตอบ #122 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 04:45:49 pm » |
|
รุ่งอรุณ แย้มประดิษฐ์ รหัส 115340441246-8เลขที่36 sec 17 วิศวกรรมอุตสหการ เรียนกับอาจารย์จรัส บุญยธรรมา วันที่ 29/01/54 เวลา 16.45aw น. ที่บ้าน จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #123 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 10:48:02 pm » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 29/01/54 เวลา 22:48 น. สถานที่ หอ เอื้อมเดือน สรุป : จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
|
sathian757
|
 |
« ตอบ #124 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 02:05:03 am » |
|
นายเสถียร ปานามะเส คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441203-9 ตอบกระทู้วันที่ 30/01/54 เวลา 02:05น. สถานที่ หอพัก นวนคร สรุปว่า จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
|
suradet phetcharat
|
 |
« ตอบ #125 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 08:05:09 am » |
|
นายสุรเดช เพ็ชรรัตน์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา CVE2 Sec17 เลขที่ 9 รหัส 115340411115-1 ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา 08.04 น.Office สำนักงานบริษัทไทยวัฒน์ จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง ที่เราเคยเรียนรู้มาก่อนแล้ว แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว การที่เราจะพูดถึงการทำงานของผลึกเหลว เราต้องทราบหลักการของโพลาไรเซชั่นก่อน
|
|
|
|
sathian757
|
 |
« ตอบ #126 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 03:05:46 pm » |
|
นายชัยยันต์ นุยืนรัมย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441215-3 เลขที่ 21เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 15:04 น. สถานที่ ห้องพักนวนคร หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง แต่ละเซลทำหน้าที่เหมือนกับจุดฟอสฟอรัสที่เคลือบอยู่หน้าจอโทรทัศน์ จอทีวีเราควบคุมความสว่างได้จากปริมาณกระแสที่พุ่งเข้าชนจุดฟอสฟอรัส จอแบนแอลซีดี ใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว
|
|
|
|
Utchima
|
 |
« ตอบ #127 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 04:30:53 pm » |
|
นางสาวอัจจิมา แขกสะอาด นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยการคอมพิวเตอร์ รหัส 115110905096-3 sec.02 เลขที่23 เรียนกับ ผ.ศ. จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้เมื่อ 30/01/54 สถานที่ บ้าน เวลา 16.30 น.
กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี คือหลักการโพลาไรเซชั่น ภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอแอลซีดีไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์เล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกว่า เซล หน้าจอแอลซีดีประกอบด้วยเซลเล็กๆ มากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ จอแอลซ๊ดี ใช้ผลึกของเหลวควบคุมความสว่างได้
|
|
|
|
sompol w. 53444 INE
|
 |
« ตอบ #128 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 04:57:40 pm » |
|
  กระผม นายสมพล วงศ์ไชย คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ sec 17 รหัสนักศึกษา 115340441208-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้วันที่ 30 เดือน มกราคม พศ.2554 ที่ จันทร์เพ็ญอพาร์ทเมนท์ เวลา 16:57 จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
|
m_japakiya
|
 |
« ตอบ #129 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 04:07:40 pm » |
|
นาย มูฮำหมัดนาวี จะปะกียา เลขที่ 2 sec 17 รหัส 115340411104-5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา ณ บ้าน จรัญสนิทวงศ์ 31-01-54 เวลา 16.07 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร
|
|
|
|
saowapha
|
 |
« ตอบ #130 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 07:26:23 pm » |
|
นางสาวเสาวภา ล่วงพ้น เลขที่ 14 รหัส 115110901082-7 sec 02 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ วันที่ 31/1/54 เวลา 19.26 น. ณ ร้านเน็ต
หน้าจอของแอลซีดีประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆ มากมายหลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซลจะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้นหนึ่งจุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซลคือเซลสีแดงที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียวที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสามว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไรซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง
|
|
|
|
sarisa
|
 |
« ตอบ #131 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 07:28:53 pm » |
|
นางสาวาริศา พรายระหาญ คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 115110901018-1 เลขที่ 13วันที่31/01/54 เวลา 19.29ที่ร้านเน็ต
จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง ที่เราเคยเรียนรู้มาก่อนแล้ว แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว การที่เราจะพูดถึงการทำงานของผลึกเหลว เราต้องทราบหลักการของโพลาไรเซชั่นก่อน
|
|
|
|
Kitti_CVE2
|
 |
« ตอบ #132 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 03:16:12 pm » |
|
กระผม นาย กิตติ จิตนันทกุล นักศึกษาคณะ วิศวกรรมโยธา sec 17 เลขที่ 8 รหัสประจำตัว 115340411113-6 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา ตอบเมื่อวันที่ 02/02/54 เวลา 15.14 น. ณ.ที่ทำงาน
กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี (LCD) คือหลักการโพลาไรเซชั่น จอแบนแบบแอลซีดี หรือที่เราเรียกว่า จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการทำงานแตกต่างจากโทรทัศน์ หลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เพราะว่าภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้ เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เราเรียกอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆนี้ว่า เซล หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง แต่ละเซลทำหน้าที่เหมือนกับจุดฟอสฟอรัสที่เคลือบอยู่หน้าจอโทรทัศน์ จอทีวีเราควบคุมความสว่างได้จากปริมาณกระแสที่พุ่งเข้าชนจุดฟอสฟอรัส จอแบนแอลซีดี ใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว
|
|
|
|
boatvivi
|
 |
« ตอบ #133 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 11:31:29 am » |
|
นางสาวณัฎฐพร ชื่นสมบัติ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาตร์ sec 02 เลขที่ 1 เวลา 11.31 น. วันที่ 3 /2 /11
ไดเเข้ามาทำการทดลองเสมือนจริงแล้วค่ะ
|
|
|
|
ยุพารัตน์ หยิบยก
|
 |
« ตอบ #134 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 11:41:28 pm » |
|
นางสาวยุพารัตน์ หยิบยก นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ sec2 รหัสประจำตัว 115110901011-6 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา
กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี คือหลักการโพลาไรเซชั่น ภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอแอลซีดีไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์เล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกว่า เซล หน้าจอแอลซีดีประกอบด้วยเซลเล็กๆ มากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ จอแอลซ๊ดี ใช้ผลึกของเหลวควบคุมความสว่างได้
|
|
|
|
chaiyun
|
 |
« ตอบ #135 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 02:26:39 am » |
|
นายชัยยันต์ นุยืนรัมย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441215-3 เลขที่ 21เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 06/02/54 เวลา 2:25 น. สถานที่ ห้องพักนวนคร หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง แต่ละเซลทำหน้าที่เหมือนกับจุดฟอสฟอรัสที่เคลือบอยู่หน้าจอโทรทัศน์ จอทีวีเราควบคุมความสว่างได้จากปริมาณกระแสที่พุ่งเข้าชนจุดฟอสฟอรัส จอแบนแอลซีดี ใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #136 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:33:51 pm » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา รหัส 115330411011-3 sec.4 วิศวกรรมโยธา ณ บ้านเลขที่ 231/135 จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร
|
|
|
|
sodiss
|
 |
« ตอบ #137 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 12:12:56 am » |
|
นายธรรมนันท์ เหมือนทิพย์ รหัส115210441248-9 sec.02 เลขที่ 27 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 9/02/54 เวลา 0.12. น. ที่ หอบ้านดวงพร มีความคิดเห็นว่า กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี (LCD) คือหลักการโพลาไรเซชั่น หลักการผสมสีของแสงภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้ เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆนี้ว่า เซล หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง
|
|
|
|
shanonfe11
|
 |
« ตอบ #138 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 06:00:06 pm » |
|
นายชานนท์ ชุมพร รหัส 115210417028-5 sec.02 เลขที่ 25 ณ หอฟ้าใสแมนชั่น ตอบกระทู้วันที่ 09/02/54 เวลา 17.59 น. จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆ อีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
|
somkid-3212
|
 |
« ตอบ #139 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 06:47:28 pm » |
|
นาย สมคิด กุลสุวรรณ รหัส 115330411033-7 กลุ่ม CVE 53341 กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี คือหลักการโพลาไรเซชั่น ภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอแอลซีดีไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์เล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกว่า เซล หน้าจอแอลซีดีประกอบด้วยเซลเล็กๆ มากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ จอแอลซ๊ดี ใช้ผลึกของเหลวควบคุมความสว่างได้ 
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #140 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:07:37 am » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4
จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง ที่เราเคยเรียนรู้มาก่อนแล้ว แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว การที่เราจะพูดถึงการทำงานของผลึกเหลว เราต้องทราบหลักการของโพลาไรเซชั่นก่อน
|
|
|
|
NISUMA
|
 |
« ตอบ #141 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 01:10:37 pm » |
|
นางสาวนิสุมา พรมนวล รหัส115110901010-8 เลขที่8 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาคณิตศาสตร์ จอแบนแบบแอลซีดี หรือ จอแบนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว มีหลักการผสมสีของแสงนั้นเหมือนกัน เกิดจากจุดสีซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จอแบนแอลซีดีนั้นใช้ผลึกเหลวควบคุมความสว่างได้ การทดลองเรื่องผลึกของเหลว แสดงถึงการบิดผลึก จะได้เห็นว่า เมื่อใส่สนามไฟฟ้าเข้าไปจะมีผลต่อการเรียงตัวของโมเลกุล หน้าจอของเครื่องคิดเลข การทดลองเป็นการจำลองมาจากหน้าจอของเครื่องคิดเลข เพื่อให้ง่ายเราจะแสดงตัวเลขเพียงหลักเดียวเท่านั้น ถ้าเลือกปุ่ม "Outside" ภาพที่เห็นคือ ตัวเลขบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เราได้เห็นจริง แต่ถ้ากด "inside"จะได้เห็นการทำงานภายในของผลึกเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และผลึกโมเลกุล จอผลึกเหลว สามารถสร้างความแตกต่างของสีได้จากการเปลี่ยนความเข้มของสี เมื่อนำมาผสมกันจะได้สีหลากหลาย ใช้หลักการเดียวกันกับจอแอลซีดี สีอันมากมายบนจอผลึกเหลว เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสง ก็ไปปรับที่สนามไฟฟ้าแทนการผสมของสีที่ความเข้มแตกต่างกันก็จะเกิดสีอื่นๆอีกมากมายนับเป็นล้านๆสีได้
|
|
|
|
Kamphon
|
 |
« ตอบ #142 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:09:18 pm » |
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10-2-2011 เวลา 16.08 น. ที่วิทยบริการ กฎพื้นฐานของแสงทางฟิสิกส์ที่ใช้อธิบายจอแอลซีดี คือหลักการโพลาไรเซชั่น ภาพที่เกิดบนจอแบนแบบนี้เกิดจากจุดสี ซึ่งประกอบด้วยแม่สี 3 สี คือ สีแดง เขียว และน้ำเงิน จุดบนจอแอลซีดีไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์เล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น เรียกว่า เซล หน้าจอแอลซีดีประกอบด้วยเซลเล็กๆ มากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาวเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ จอแอลซ๊ดี ใช้ผลึกของเหลวควบคุมความสว่างได้
|
|
|
|
mypomz
|
 |
« ตอบ #143 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 09:17:48 am » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 11 ก.พ. 54 เวลา 9.17 สถานที่ หอพัก
จุดบนจอของโทรทัศน์เคลือบด้วยฟอสฟอรัส เพื่อให้อิเล็กตรอนสามารถเปล่งแสงออกมาได้ แต่จุดบนจอแอลซีดี ไม่ได้เคลือบด้วยฟอสฟอรัส แต่เป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กๆ ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนตาแทบมองไม่เห็น หน้าจอของแอลซีดี ประกอบขึ้นด้วยเซลเล็กๆมากมาย หลังจอมีแหล่งกำเนิดแสงสีขาว ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกแสงที่ส่องมาทางด้านหลังนี้ว่า แบคไลท์ (Backlight) หน้าเซล จะมีฟิลเตอร์หรือตัวกรองแสง สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ดังนั้น 1 จุดแสงจะประกอบขึ้นจากเซล 3 เซล คือเซลสีแดง ที่ผ่านฟิลเตอร์สีแดง เซลสีเขียว ที่ผ่านฟิลเตอร์สีเขียว และเซลน้ำเงินที่ผ่านฟิลเตอร์สีน้ำเงิน สีของแสงแต่ละจุดจะขึ้นอยู่กับเซลทั้งสาม ว่ามีความสว่างมากน้อยเท่าไร ซึ่งก็คือหลักการผสมสีของแสง ที่เราเคยเรียนรู้มาก่อนแล้ว แอลซีดี ย่อมาจากภาษาอังกฤษว่า Liquid crytal dispaly แปลเป็นภาษาไทยตรงๆว่า จอผลึกเหลว การที่เราจะพูดถึงการทำงานของผลึกเหลว เราต้องทราบหลักการของโพลาไรเซชั่นก่อน
|
|
|
|
|