kitima
|
 |
« ตอบ #60 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 06:35:26 pm » |
|
นางสาวกิติมา รัตโนทัย sec 02 เลขที่ 16 รหัส 115110903001-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 01/02/2554 เวลา 18.35น. สถานที่ zoom สรุปว่า... เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค หลังจากเสียชีวิตได้มี่การสร้างอนุสาวรีย์รูปไอน์สไตน์ครึ่งตัว ที่สถาบันฟิสิกส์ กรุงเบอร์ลิน เรียกว่า หอคอยไอน์สไตน์
|
|
|
|
hatorikung_nutt
|
 |
« ตอบ #61 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 06:40:47 pm » |
|
นายพงษ์ศักดิ์ เลิศศรี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 เลขที่19 รหัสประจำตัว115340441209-6 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 1/02/54 เวลา18.40ณ หอพักวงษ์จินดา
ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ทฤษฎีสัมพัทธภาพต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าเรื่อง พลังงานปรมาณู เพราะทฤษฎีนี้อธิบายว่ามวลเพียงเล็กน้อยของแร่ชนิดหนึ่ง สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานมหาศาลที่ใช้ในโรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ได้อย่างสบาย ในระยะแรกที่ไอน์สไตน์เผยแพร่ผลงานชิ้นนี้ออก ไป ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจนัก แต่เมื่อไอน์สไตน์อธิบายให้ฟังด้วยวิธีง่าย ๆ ก็เกิดความเข้าใจมากขึ้น และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขา ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตขั้นเกียรตินิยมสูงสุด
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #62 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 07:10:38 pm » |
|
นางสาวณัฐพร พิศนุ sec 02 เลขที่ 17 รหัส 115110903030-4 วันที่ 01/02/2554 เวลา 19.10 สถานที่ หอ ZOOM สรุปว่า... เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค หลังจากเสียชีวิตได้มี่การสร้างอนุสาวรีย์รูปไอน์สไตน์ครึ่งตัว ที่สถาบันฟิสิกส์ กรุงเบอร์ลิน เรียกว่า หอคอยไอน์สไตน์
|
|
|
|
saowapha
|
 |
« ตอบ #63 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 07:38:32 pm » |
|
นางสาวเสาวภา ล่วงพ้น คณะวิทยาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรื รหัส 115110901082-7 เลขที่ 14 sec.2 วันที่ 1/2/54 เวลา19.38 น. ณ.ร้านเน็ต
ในปี ค.ศ.1914 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ทำให้ทุกหนทุกแห่งวุ่นวาย โดยเฉพาะในยุโรป แต่ถึงอย่างนั้นในปี ค.ศ.1915 ไอน์สไตน์ก็ยังทำการค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และออกตีพิมพ์หนังสืออกมาเล่มหนึ่งชื่อว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relativity) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่หลายต่างก็ไม่เข้าใจในทฤษฎีข้อนี้ แต่ด้วยความที่ไอน์สไตน์เป็นคนสุขุมเยือกเย็น เขาได้ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีในหลายลักษณะเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นว่า มีรถไฟ 2 ขบวน ขบวนหนึ่งจอดอยู่กับที่ อีกขบวนหนึ่งกำลังวิ่งสวน ทางไป ผู้โดยสารที่อยู่บนรถไฟที่จอดอยู่อาจจะรู้สึกว่ารถไฟกำลังวิ่งอยู่ เพราะฉะนั้น อัตราเร็ว ทิศทาง จึงมีความเกี่ยวข้องกัน
ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #64 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 10:55:09 pm » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล seco2 รหัส 1153109030102 เลขที่ 49 วันที่ 1/1/54 เวลา 22.54 ณหอใน ผลงานของไอน์สไตน์ "ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #65 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 11:35:11 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 01/02/2554 เวลา 23.35 น. สรุปได้ว่า เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2
|
|
|
|
pollavat
|
 |
« ตอบ #66 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 08:53:26 am » |
|
นายพลวัฒน์ คำกุณา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตหสาหการ-การจัดการ sec04 รหัสประจำตัว115330441219-6 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อ วันที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ 2554 เวลา 08:51 น. สถานที่ หอพักZoom มีความคิดเห็นว่า: เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2
|
|
|
|
Kitti_CVE2
|
 |
« ตอบ #67 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 03:52:44 pm » |
|
กระผม นาย กิตติ จิตนันทกุล นักศึกษาคณะ วิศวกรรมโยธา sec 17 เลขที่ 8 รหัสประจำตัว 115340411113-6 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา ตอบเมื่อวันที่ 02/02/54 เวลา 15.50 น. ณ.ที่ทำงาน
ในปี ค.ศ.1903 ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค และในปีเดียวกันนี้เขา ได้เขียนบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้กับนิตยสารเยอรมนีฉบับหนึ่ง และในปี ค.ศ.1905 บทความเรื่องของไอน์สไตน์ก็ได้รับ ความสนใจ และยกย่องอย่างมาก บทความเรื่องนี้เป็นของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2 โดย
E (Energy) = พลังงาน m (mass) = มวลสารของวัตถุ c = ความเร็วแสง
|
|
|
|
chaiwat
|
 |
« ตอบ #68 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 06:50:02 pm » |
|
กระผมนายชัยวัฒน์ คำพันเกิด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เครื่องกล รหัส 115011113029-2 sec.02 เลขที่ 3 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2/02/2554 เวลา 18.49 น. ที่หอพักโอนิน5 สรุปได้ว่า ในช่วงศตวรรษที่ 19-20 ไอน์สไตน์ถือว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด และอาจกล่าวได้ว่า เขาคือผู้ยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยระเบิดปรมาณูอันทรงอานุภาพแห่งการทำลายล้าง เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้น ไอน์สไตน์ ได้ส่งจดหมายฉบับหนึ่งถึงประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. รูสเวลท์ (Franklin Delano Roosevelt) เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของ แร่ยูเรเนียมที่สามารถนำมาสร้างลูกระเบิดพลังงานการทำลายสร้างรุนแรง เพื่อบังคับให้ญี่ปุ่นประกาศแพ้สงคราม และนำสันติภาพ มาสู่โลกอีกครั้งหนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงตกลงทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกของโลกลงที่เมืองฮิโรชิมา (Hiroshima) ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งส่งผลให้คนเสียชีวิตทันทีกว่า 60,000 คน และเสียชีวิตภายหลังอีกกว่า 100,000 คน
|
|
|
|
sodiss
|
 |
« ตอบ #69 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 08:56:28 pm » |
|
นายธรรมนันท์ เหมือนทิพย์ รหัส115210441248-9 sec.02 เลขที่ 27 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 2/02/54 เวลา 20.56. น. ที่ หอบ้านดวงพร มีความคิดเห็นว่า
ในปี ค.ศ.1914 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ทำให้ทุกหนทุกแห่งวุ่นวาย โดยเฉพาะในยุโรป แต่ถึงอย่างนั้นในปี ค.ศ.1915 ไอน์สไตน์ก็ยังทำการค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และออกตีvพิมพ์หนังสืออกมาเล่มหนึ่งชื่อว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relativity) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่หลายต่างก็ไม่เข้าใจในทฤษฎีข้อนี้ แต่ด้วยความที่ไอน์สไตน์เป็นคนสุขุมเยือกเย็น เขาได้ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีในหลายลักษณะเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นว่า มีรถไฟ 2 ขบวน ขบวนหนึ่งจอดอยู่กับที่ อีกขบวนหนึ่งกำลังวิ่งสวน ทางไป ผู้โดยสารที่อยู่บนรถไฟที่จอดอยู่อาจจะรู้สึกว่ารถไฟกำลังวิ่งอยู่ เพราะฉะนั้น อัตราเร็ว ทิศทาง จึงมีความเกี่ยวข้องกัน
ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #70 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 09:31:59 pm » |
|
นางสาวนิติการณ์ รัตนบุรี sec.2 เลขที่71 รหัสนักศึกษา 115310903052-4 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ ตอบกระทู้วันที่ 2 กพ 54 เวลา21.32น. ที่ Banoffee ผลงานของไอน์สไตน์ "ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
kodchaporn
|
 |
« ตอบ #71 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 10:06:23 pm » |
|
น.ส กชพร เพ็งคำเส็ง นศ.วิศวกรรมเกษตร-สาขาอาหาร sec02 เลขที่29 รหัส 115210417059-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 2 ก.พ. 2554 เวลา 22.06 น. สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า...
เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค หลังจากเสียชีวิตได้มี่การสร้างอนุสาวรีย์รูปไอน์สไตน์ครึ่งตัว ที่สถาบันฟิสิกส์ กรุงเบอร์ลิน เรียกว่า หอคอยไอน์สไตน์
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #72 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 11:11:05 pm » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 115310903036-7 เลขที่ 59 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 2 ก.พ 54 เวลา 23.10 น. สถานที่ บ้านคลอง 6 สรุปได้ว่า ในปี ค.ศ.1914 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ทำให้ทุกหนทุกแห่งวุ่นวาย โดยเฉพาะในยุโรป แต่ถึงอย่างนั้นในปี ค.ศ.1915 ไอน์สไตน์ก็ยังทำการค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และออกตีพิมพ์หนังสืออกมาเล่มหนึ่งชื่อว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relativity) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่หลายต่างก็ไม่เข้าใจในทฤษฎีข้อนี้ แต่ด้วยความที่ไอน์สไตน์เป็นคนสุขุมเยือกเย็น เขาได้ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีในหลายลักษณะเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นว่า มีรถไฟ 2 ขบวน ขบวนหนึ่งจอดอยู่กับที่ อีกขบวนหนึ่งกำลังวิ่งสวน ทางไป ผู้โดยสารที่อยู่บนรถไฟที่จอดอยู่อาจจะรู้สึกว่ารถไฟกำลังวิ่งอยู่ เพราะฉะนั้น อัตราเร็ว ทิศทาง จึงมีความเกี่ยวข้องกัน
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #73 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 11:42:36 pm » |
|
ชานนท์ วรรณพงษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหาการ sec.2 เลขที่ 5 รหัสประจำตัว 115040441083-1 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา วันที่ พศ.2554 ที่2-02-54 หอพักลากูล เวลา 23.47.ครับผม
เกิด วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม (Ulm) ประเทศเยอรมนี เสียชีวิต วันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ.1955 ที่เมืองนิวเจอร์ซี่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงาน - ค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) - ค้นพบทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) - ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค (Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค ทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #74 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 11:56:43 am » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 03/02/54 เวลา 11.55 สถานที่ บ้าน
ผลงานของไอน์สไตน์"ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
Jantira
|
 |
« ตอบ #75 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 01:16:16 pm » |
|
นางสาวจันทิรา รัตนพันธุ์ sec.2 เลขที่64 รหัสนักศึกษา 115310903042-5 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ วันที่3/02/54 เวลา13.15น. ณbanoffee สรุป ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
namtan
|
 |
« ตอบ #76 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 02:22:06 pm » |
|
ดิฉัน นางสาวณัชชา ธิติบุญจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอาหาร sec02 รหัสประจำตัว115210417055-8 เลขที่ 27 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 3 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ที่หอพักโอนิน3 เวลา 14.22น. ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1879 ที่เมืองอูล์ม ประเทศเยอรมนี ไอน์สไตน์เป็นชาวเยอรมันแต่ก็มีเชื้อสายยิวด้วย บิดาของไอน์สไตน์เป็นเจ้าของร้านจำหน่ายเครื่องยนต์และสารเคมี ชื่อว่า เฮอร์แมน ไอน์สไตน์ (Herman Einstein) ต่อมาเมื่อ ไอน์สไตน์อายุได้ 1 ขวบ บิดาได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองมิวนิค ไอน์สไตน์เป็นเด็กที่เงียบขรึม และมักไม่ค่อยชอบออกไปเล่นกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน จนบิดาเข้าใจว่าเขาเป็นคนโง่ จึงได้จ้างครูมาสอนพิเศษให้กับไอน์สไตน์ที่บ้าน โดยเฉพาะเรื่องการพูด ไอน์สไตน์ก็เข้ากับเพื่อนได้ดี แต่สิ่งที่เขาไม่ชอบมากที่สุดในโรงเรียนก็คือการสอนที่น่าเบื่อหน่าย ที่ใช้วิธีการท่องจำเป็นส่วนใหญ่ ไอน์สไตน์ให้ความสนใจมากที่สุดคือ คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะวิชาเรขาคณิตเป็นวิชาที่เขาชอบมากที่สุด ต่อมาไอน์สไตน์ได้สอบเข้าเรียนต่อวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่วิทยาลัยโปลีเทคนิค เมืองซูริค(Federal Poleytechnic of Zurich) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค ทฤษฎีสัมพัทธภาพ(Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2
|
|
|
|
LeeOa IE'53 SEC.17
|
 |
« ตอบ #77 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 08:10:23 pm » |
|
กระผม นาย สุธี มีอำมาตย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) เลขที่ 15 SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441205-4 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เวลา 8:11 PM. สถานที่บ้านพักที่วังน้อย มีความเห็นว่า ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
wuttipong
|
 |
« ตอบ #78 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 05:34:33 pm » |
|
ผมนายวุฒิพงษ์ สุขะ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411029-5 Sec.04 เลขที่ 23 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 04/02/2554 เวลา17:34 น. ที่หอพัก FourB5 สรุปได้ว่า ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
lor_lexCVE2
|
 |
« ตอบ #79 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 05:44:25 pm » |
|
ผมนายสุรพงษ์ จำปานาค นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115340411107-8เลขที่ 5 sec 17 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 04/02/2554 เวลา17:44 น. ที่บ้านสรุปได้ว่า ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
Kamphon
|
 |
« ตอบ #80 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 07:58:54 pm » |
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 4-2-2011 เวลา 19.58 น. ที่ตึกวิทยบริการ ผลงานของไอน์สไตน์"ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
Suphakorn
|
 |
« ตอบ #81 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 08:58:19 pm » |
|
กระผมนาย สุภากร หงษ์โต นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441211-3 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 20.58 น. ที่หอพัก gooddream มีความคิดเห็นว่า ในปี ค.ศ.1903 ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค และในปีเดียวกันนี้เขา ได้เขียนบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้กับนิตยสารเยอรมนีฉบับหนึ่ง และในปี ค.ศ.1905 บทความเรื่องของไอน์สไตน์ก็ได้รับ ความสนใจ และยกย่องอย่างมาก บทความเรื่องนี้เป็นของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2 โดย
E (Energy) = พลังงาน m (mass) = มวลสารของวัตถุ c = ความเร็วแสง
|
|
|
|
sangtawee
|
 |
« ตอบ #82 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 11:24:55 pm » |
|
กระผมนายแสงทวี พรมบุตร นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411035-2 Sec.04 เลขที่ 29 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 04/02/2554 เวลา23:24 น. สถานที่หอพัก FourB5 มีความเห็นว่า ผลงานของไอน์สไตน์"ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #83 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 02:10:59 am » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 05/02/2554 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 02.11 น.
ในปี ค.ศ.1903 ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค และในปีเดียวกันนี้เขา ได้เขียนบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้กับนิตยสารเยอรมนีฉบับหนึ่ง และในปี ค.ศ.1905 บทความเรื่องของไอน์สไตน์ก็ได้รับ ความสนใจ และยกย่องอย่างมาก บทความเรื่องนี้เป็นของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2 โดย E (Energy) = พลังงาน m (mass) = มวลสารของวัตถุ c = ความเร็วแสง ทฤษฎีสัมพัทธภาพต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าเรื่อง พลังงานปรมาณู เพราะทฤษฎีนี้อธิบายว่ามวลเพียงเล็กน้อยของแร่ชนิดหนึ่ง สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานมหาศาลที่ใช้ในโรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ได้อย่างสบาย ในระยะแรกที่ไอน์สไตน์เผยแพร่ผลงานชิ้นนี้ออก ไป ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจนัก แต่เมื่อไอน์สไตน์อธิบายให้ฟังด้วยวิธีง่าย ๆ ก็เกิดความเข้าใจมากขึ้น และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขา ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตขั้นเกียรตินิยมสูงสุด
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #84 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 02:45:01 pm » |
|
กระผมนาย รัตชานนท์ ทับทอง นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441203-0 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 14.44 น. ที่วิทยะ ผลงานของไอน์สไตน์ "ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #85 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:33:20 pm » |
|
กระผมนายนัฐพล การคณะวงศ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ หอดู๊ดดรีม เวลา 17.37 น. ผลงานของไอน์สไตน์"ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก" ของไอน์สไตน์ ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาค และคลื่น "การเคลื่อนที่แบบบราวเนียน" ไอน์สไตน์ศึกษาเรื่องการเคลื่อนแบบบราวเนียน โดยที่เขาเองไม่ได้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับผลการทดลองเลย ในรายงานของเขานั้นเขียนเอาไว้ว่า เป็นการแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุขนาดเล็กที่สังเกตยากด้วยตาเปล่า และเคลื่อนไหวไปมาในน้ำอันเนื่องจากน้ำร้อน ซึ่งเป็นผลจากทฤษฎีพลังงานจลน์โมเลกุล อาจเรียกได้ว่าเป็น “การเคลื่อนที่แบบบราวเนียนในระดับโมเลกุล” "ทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ" มีนัยยะว่าเมื่อเพิ่มพลังงานให้มีความเร็ว มวลก็จะเพิ่มขึ้นด้วย จึงไม่มีอะไรจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าแสง
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #86 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 07:13:57 pm » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 66ตอบกระทู้วันที่5/02/54 เวลา19.04 สถานที่ หอใน สิ่งประดิษฐ์ชิ้นแรกของไอน์สไตน์ คือ เครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า ต่อมาไอน์สไตน์ได้เขียนบทความเรื่อง ทฤษฎีสัมพันธภาพ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับมวล เขียนเป็นสูตรคือ E=mc^2 (โดย E= พลังงาน ,m= มวลสารของวัตถุ , c= ความเร็วแสง ) ทฤษฎีสัมพันธภาพต่อมมาได้นำไปสู่การค้นคว้าเรื่อง พลังงานปรมาณู เพราะทฤษฎีนี้อธิบายว่า มวลเพียงเล็กน้อยของแร่ชนิดหนึ่งเปลี่ยนเป็นพลังงานมหาศาลที่ใช้ในโรงงานไฟฟ้า ขนาดใหญ่ได้อย่างสบาย ผลงานชิ้นนี้ทำให้ไอน์สไตน์ได้รับปริญญาดุษฎีบัตรขั้นเกียรตินิยมสูงสุด
|
|
|
|
watit
|
 |
« ตอบ #87 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 10:24:28 pm » |
|
กระผมชื่อนายวาทิต บุพศิริ นักศึกษา CVE2 สมทม SEC 17 รหัส 115340411106-0 เข้ามาตอบเมื่อ 5/02 /2011 เวลา10.15pm ที31/1859 มบ.พฤกษา12-รังสิตคลองสาม
ในปี ค.ศ.1914 ได้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ทำให้ทุกหนทุกแห่งวุ่นวาย โดยเฉพาะในยุโรป แต่ถึงอย่างนั้นในปี ค.ศ.1915 ไอน์สไตน์ก็ยังทำการค้นคว้าเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และออกตีพิมพ์หนังสืออกมาเล่มหนึ่งชื่อว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relativity) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่หลายต่างก็ไม่เข้าใจในทฤษฎีข้อนี้ แต่ด้วยความที่ไอน์สไตน์เป็นคนสุขุมเยือกเย็น เขาได้ อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีในหลายลักษณะเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นว่า มีรถไฟ 2 ขบวน ขบวนหนึ่งจอดอยู่กับที่ อีกขบวนหนึ่งกำลังวิ่งสวน ทางไป ผู้โดยสารที่อยู่บนรถไฟที่จอดอยู่อาจจะรู้สึกว่ารถไฟกำลังวิ่งอยู่ เพราะฉะนั้น อัตราเร็ว ทิศทาง จึงมีความเกี่ยวข้องกัน
ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
chaiyun
|
 |
« ตอบ #88 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 02:51:27 am » |
|
นายชัยยันต์ นุยืนรัมย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441215-3 เลขที่ 21เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/54 เวลา2.49 น. สถานที่ ห้องพักนวนคร สรุปได้ว่า ในปี ค.ศ.1921 ไอน์สไตน์ได้เสนอผลงานออกมาอีกชิ้นหนึ่ง คือ ทฤษฎีการแผ่รังสี (Photoelectric Effect Theory) และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ และรางวัลจากอีกหลายสถาบัน ได้แก่ ค.ศ.1925 ได้รับเหรียญคอพเลย์ จากราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน ค.ศ.1926 ได้รับเหรียญทองราชดาราศาสตร์ ค.ศ.1931 ดำรงตำแหน่งนักค้นคว้าของวิทยาลัย ไครสต์เชิร์ช แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซฟอร์ด ค.ศ.1933 เขาได้รับเชิญจากประเทศสหรัฐอเมริกาให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีของ สถาบันบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยพรินส์ตัน ที่รัฐนิวเจอร์ซี่ (Institute for Advance Study at Princeton, New Jersey) นอกจากนี้ทฤษฎีของเขายังสามารถล้มล้างทฤษฎีของจอห์น ดาลตัน (John Dalton) นักฟิสิกส์และเคมีชาวอังกฤษที่ว่า "สสารย่อมไม่สูญไปจากโลกเพราะอะตอมเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของสสาร ซึ่งไม่สามารถจะแยกออกไปได้อีก" แต่ไอน์สไตน์ได้กล่าวว่า สสารย่อมมีการสูญสลาย นอกจากพลังงานเท่านั้นที่จะไม่สูญหาย เพราะพลังงานเกิดขึ้นจากสสารที่หายไป และอะตอมไม่ใช่ส่วนที่ เล็กที่สุดของสสาร เพราะฉะนั้นจึงสามารถแยกออกได้อีก
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #89 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 02:43:05 pm » |
|
นายทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส115330411008-9sec 04 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/54 เวลา14.42 สถานที่หอมาลีแมนชั่น ในปี ค.ศ.1903 ไอน์สไตน์ได้แต่งงานกับมิเลวา มารี เพื่อนเก่าสมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซูริค และในปีเดียวกันนี้เขา ได้เขียนบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้กับนิตยสารเยอรมนีฉบับหนึ่ง และในปี ค.ศ.1905 บทความเรื่องของไอน์สไตน์ก็ได้รับ ความสนใจ และยกย่องอย่างมาก บทความเรื่องนี้เป็นของทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างพลังงาน กับมวลสาร โดยเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ E = mc2 โดย E (Energy) = พลังงาน m (mass) = มวลสารของวัตถุ c = ความเร็วแสง ทฤษฎีสัมพัทธภาพต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าเรื่อง พลังงานปรมาณู เพราะทฤษฎีนี้อธิบายว่ามวลเพียงเล็กน้อยของแร่ชนิดหนึ่ง สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานมหาศาลที่ใช้ในโรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ได้อย่างสบาย ในระยะแรกที่ไอน์สไตน์เผยแพร่ผลงานชิ้นนี้ออก ไป ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจนัก แต่เมื่อไอน์สไตน์อธิบายให้ฟังด้วยวิธีง่าย ๆ ก็เกิดความเข้าใจมากขึ้น และจากผลงานชิ้นนี้ทำให้เขา ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตขั้นเกียรตินิยมสูงสุด
|
|
|
|
|