sangtawee
|
 |
« ตอบ #90 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 11:21:23 pm » |
|
กระผมนายแสงทวี พรมบุตร นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411035-2 Sec.04 เลขที่ 29 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 04/02/2554 เวลา23:21 น. สถานที่หอพัก FourB5 มีความเห็นว่า เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #91 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 02:20:35 am » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 05/02/2554 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 02.16 น.
ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ (Special Relativity) ถูกเสนอขึ้นในปี ค.ศ. 1905 โดยไอน์สไตน์ซึ่งในบทความของเขากล่าวเกี่ยวกับพลศาสตร์ไฟฟ้าของวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ สมมติฐานของทฤษฏีสัมพันธภาพพิเศษ 1.หลักสัมพันธภาพอย่างพิเศษ กฎของฟิสิกส์ย่อมเหมือนกันในทุกกรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.ความไม่แปรเปลี่ยนของ C อัตราเร็วของเเสงในสูญญากาศ เป็นค่าคงที่สากล
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #92 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 02:29:45 pm » |
|
กระผมนาย รัตชานนท์ ทับทอง นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441203-0 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 14.29 น. ที่วิทยะ ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
surachet
|
 |
« ตอบ #93 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 03:31:36 pm » |
|
กระผมนาย สุรเชฐ กัญจนชุมาบุรพ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441210-5 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ บ้าน เวลา 15.30น มีความคิดเห็นว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #94 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:32:22 pm » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล sec02 รหัส 1153109030102 เลขที่ 49 วันที่ 5/2/54 เวลา 16.28 ณหอใน ทฤษฏี เรียกว่า ทฤษฏีสัมพัทธภาพาพิเศษ เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตพัฒนานี้ กล่าวคือ ใช้ได้ทุกกรอบอ้างอิง ทฤษฏีสัมพภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง เเต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #95 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 09:35:06 pm » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 66 ตอบกระทู้วันที่ 5/02/54 เวลา 21.24 สถานที่ หอใน สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่าเรานั่งอยู่บนรถไฟใต้ดิน ที่กำลังวิ่งอย่างนิ่มนวลด้วยความเร็วคลที่ ถ้าเราปิดหน้าต่าง(หรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ) จะไม่มีทางทราบเลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง (ไม่ว่าจะใช้การทดลองใดๆ ทางฟิสิกส์ ก็ไม่สามารถบอกได้) "กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2คน ที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ " ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆกรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
watit
|
 |
« ตอบ #96 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 10:58:22 pm » |
|
กระผมชื่อนายวาทิต บุพศิริ นักศึกษา CVE2 สมทม SEC 17 รหัส 115340411106-0 เข้ามาตอบเมื่อ 5/02 /2011 เวลา10.54pm. ที31/1859 มบ.พฤกษา12-รังสิตคลองสาม
การเคลื่อนที่สัมพัทธ การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ “กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่” “เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ”
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #97 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 02:55:51 pm » |
|
นายทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส115330411008-9sec 04 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/54 เวลา14.55 สถานที่หอมาลีแมนชั่น ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
civil kang
|
 |
« ตอบ #98 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:32:03 pm » |
|
นาย สราวุฒิ ดีดวงพันธ์ 115330411028-7 sec 4 วิศวกรรมโยธา วันที่ 6/2/2554 เวลา 15:31 สรุปว่า..
การเคลื่อนที่สัมพัทธ การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ “กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่” “เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ”
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #99 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 04:20:19 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร รหัส 115330411036-0 วิศวกรรมโยธา เวลา 4.20 pm. วันที่ 6 ก.พ. 54 สถานที่ หอร์ โฟร์บี 2
เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
KanitaSS
|
 |
« ตอบ #100 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 06:42:12 pm » |
|
นางสาวคณิตา สุดจิตร์ นศ.คณะวิทยาศาสตร์สาขาสถิติประยุกต์ Sec2 รหัส115310903030-0เลขที่53 วันที่06/02/54 เวลา18.41น.สถานที่บาน็อฟฟี่ เพลส สรุปได้ว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #101 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 07:30:59 pm » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา รหัส 115330411011-3 sec.4 วิศวกรรมโยธา ณ บ้านเลขที่ 231/135
เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #102 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 08:52:20 pm » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 115310903036-7 เลขที่ 59 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 6 ก.พ 54 เวลา 20.52 น. สถานที่ บ้านคลอง 6 สรุปได้ว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
sarayut
|
 |
« ตอบ #103 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 02:37:49 am » |
|
นาย ศรายุทธ เที่ยงแท้ วิศวกรรมโยธา 115330411001-4 เลขที่ 1 วันที่7/02/54 เวลา 02.37 ที่ หอพัก ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
ittiwat
|
 |
« ตอบ #104 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 10:24:15 am » |
|
นายอิทธิวัตร จิตต์มั่นคงกุล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903037-5 เลขที่ 60 sec 2 วันที่ 7/02/54 เวลา 10.10 น. สถานที่ บ้าน สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #105 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 11:18:56 am » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า เลขที่61 รหัส 115310903038-3 sec 02 สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 11.18 น. สถานที่ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่าเรานั่งอยู่บนรถไฟใต้ดิน ที่กำลังวิ่งอย่างนิ่มนวลด้วยความเร็วคลที่ ถ้าเราปิดหน้าต่าง(หรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ) จะไม่มีทางทราบเลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง (ไม่ว่าจะใช้การทดลองใดๆ ทางฟิสิกส์ ก็ไม่สามารถบอกได้) "กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2คน ที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ " ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆกรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
Khuarwansiriruk
|
 |
« ตอบ #106 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 11:24:25 am » |
|
น.ส.เครือวัล ศิริรักษ์ เลขที่ 62 sec 02 ID:115310903039-1 นศ.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เวลา 11.25 น. วันที่ 7-2-54 กิติพงศ์แมนชั่น สรุปได้ว่า
ไอน์สไตน์ได้กล่าวไว้ว่าผลที่ตามมาของทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษสามารถหาได้จากการพิจารณาการแปลงแบบลอเรนซ์ การแปลงเหล่านี้ รวมทั้งทฤษฏีสัมพัทธภาพพิเศษ นำไปสู่การทำนายลักษณะกายภาพที่ต่างไปจากกลศาสตร์นิวตันเมื่อความเร็วสัมพัทธ์มีค่าเทียบเคียงอัตราเร็วแสง อัตราเร็วแสงนั้นมากกว่าทุกสิ่งที่มนุษย์เคยประสบ จนทำให้ผลบางอย่างซึ่งทำนายจากหลักการสัมพัทธ์นั้นจะขัดกับสัญชาตญาณตั้งแต่แรก:
-การยืดออกของเวลา - เวลาที่ล่วงไประหว่างเหตุการณ์สองอย่างนั้นไม่แปรเปลี่ยนจากผู้สังเกตหนึ่งไปยังผู้สังเกตหนึ่ง แต่มันขึ้นอยู่กับความเร็วสัมพัทธ์ของกรอบอ้างอิงของผู้สังเกต (ตัวอย่างเช่น ปัญหา twin paradox ซึ่งพูดถึงฝาแฝดซึ่งคนหนึ่งบินไปกับยานอวกาศซึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็วใกล้แสง แล้วกลับมาพบว่าแฝดของเขาที่อยู่บนโลกมีอายุมากกว่า) -สัมพัทธภาพของความพร้อมกัน - เหตุการณ์สองอย่างเกิดขึ้นในที่ที่ต่างกันสองแห่งอย่างพร้อมกันสำหรับผู้สังเกตหนึ่ง อาจไม่พร้อมกันสำหรับผู้สังเกตคนอื่น (ความบกพร่องของความพร้อมกันสัมบูรณ์) -การหดสั้นเชิงลอเรนซ์ - มิติ (เช่น ความยาว) ของวัตถุเมื่อวัดโดยผู้สังเกตคนหนึ่งอาจเล็กลงกว่าผลการวัดของผู้สังเกตอีกคนหนึ่ง (ตัวอย่างเช่น ladder paradox เกี่ยวข้องกับบันไดยาวซึ่งเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วใกล้แสงและเข้าเก็บในห้องซึ่งเล็กกว่า) -การรวมความเร็ว - ความเร็ว (และอัตราเร็ว) ไม่ได้ 'รวม' กันง่าย ๆ ยกตัวอย่างเช่นถ้าจรวดลำหนึ่งกำลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว ⅔ ของอัตราเร็วแสงสัมพัทธ์กับผู้สังเกตคนหนึ่ง แล้วจรวดก็ปล่อยมิซไซล์ที่มีอัตราเร็วเท่ากับ ⅔ ของอัตราเร็วแสงสัมพัทธ์กับจรวด มิซไซล์ไม่ได้มีอัตราเร็วมากกว่าอัตราเร็วแสงสัมพัทธ์กับผู้สังเกต (ในตัวอย่างนี้ ผู้สังเกตจะเห็นมิซไซล์วิ่งไปด้วยอัตราเร็ว 12/13 ของอัตราเร็วแสง) -ความเฉื่อยกับโมเมนตัม - เมื่อความเร็วของวัตถุเข้าใกล้อัตราเร็วแสง วัตถุจะเร่งได้ยากขึ้นและยากขึ้นเรื่อย ๆ -การสมมูลของมวลและพลังงาน, E=mc2 - มวลและพลังงานสามารถแปลงกลับกันไปมา และมีบทบาทเทียบเท่ากัน (ตัวอย่างเช่น แรงโน้มถ่วงของแอปเปิลที่กำลังหล่น ส่วนหนึ่งเกิดจากพลังงานจลน์ของอนุภาคย่อยซึ่งประกอบเป็นแอปเปิลขึ้นมา)
|
|
|
|
ณัฐพงษ์ สันทะ
|
 |
« ตอบ #107 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 05:38:15 pm » |
|
กระผม นาย ณัฐพงษ์ สันทะ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมอุตสาหการ - การจัดการ sec 4 รหัสประจำตัว 115330441216-2 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่_7 เดือน_02 พศ_2554 ที่(ชื่อหอพัก/ชื่อบ้านพัก)_ประสงค์ เวลา_17.38 มีความเห็นว่า/มีข้อคิดเห็นว่า/ความรู้จากเนื้อหาที่ได้ คือ
สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่าเรานั่งอยู่บนรถไฟใต้ดิน ที่กำลังวิ่งอย่างนิ่มนวลด้วยความเร็วคลที่ ถ้าเราปิดหน้าต่าง(หรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ) จะไม่มีทางทราบเลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง (ไม่ว่าจะใช้การทดลองใดๆ ทางฟิสิกส์ ก็ไม่สามารถบอกได้) "กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2คน ที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ " ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆกรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #108 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 05:51:19 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 41 คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา อาจารย์ผู้สอนจรัส บุญธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวัน 7 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17:47 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom สรุปได้ว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #109 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 07:54:38 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ เลขที่ 36 รหัส 115210452022-4 sec 2 ตอบกระทู้วันที่ 7 ก.พ 2554 เวลา 19.54 ที่หอพัก
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าว คือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิด การสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึง กระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่ สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
alicenine
|
 |
« ตอบ #110 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:31:06 am » |
|
นายเลิศศักดิ์ ศัลยวิเศษ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452021-6 เลขที่ 35
ตอบกระทู้ เมื่อ 08/02/54 เวลา 10.31 น. ที่ หอพัก
สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดิน ที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความ เร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
Pratanporn
|
 |
« ตอบ #111 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 11:28:02 am » |
|
นายประทานพร พูลแก้ว นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 75 รหัส 115310903057-3 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/02/2554 เวลา 11:21 สถานที่ บ้าน ในปี 1905 ไอน์สไตน์ไม่ได้มีผลงานแค่ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษที่เหลือยังมีทฤษฎี Photoelectric การเคลื่อนที่แบบ Brownian motion การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพันธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามารถบอกได้ว่าใครกันแน่ที่เคลื่อนไหวสัมพันธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งรถอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งอย่างนิ่มนวลด้วยความเร็วคงที่ ถ้าเราปิดหน้าต่าง(หรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ) เราจะไม่มีทางทราบเลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง(ไม่ว่าจะใช้การทดลองใดๆ ทางฟิสิกส์ก็ไม่สามารถบอกได้) สิ่งนี้เป็นไปตามกฎ Galileo's Principle of Relativity "กฎของฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคง
|
|
|
|
Eakachai_ie
|
 |
« ตอบ #112 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 12:19:23 pm » |
|
นายเอกชัย สงวนศักดิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ รหัส 115040441086-4 sec 02 เลขที่ 6 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8/02/54 เวลา 12.18 น. ที่หอมาลีแมนชัน ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #113 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:01:30 pm » |
|
นายธาตรี ศรีสวัสดิ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา สถิติประยุกต์ sec 02 รหัส 115310903061-5 เลขที่ 77 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554เวลา22.02น. ที่บ้าน สรุปว่าทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าว คือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิด การสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึง กระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่ สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
ratthasart
|
 |
« ตอบ #114 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 12:10:06 am » |
|
ผมนายรัฐศาสตร์ ไชยโส นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441218-8 เลขที่ 61 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 00.10น. ที่ ห้องพัก มีความคิดเห็นว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป โดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผล ของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็น ปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าว ให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของ ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า แสง เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่ เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
Survivor666
|
 |
« ตอบ #115 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 02:56:31 am » |
|
นาย สร้างสรรค์ วงศ์ฉลาด นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ รหัส 115110905018-7 อาจารย์ผู้สอน ผศ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/2/2554 สถานที่ หอพัก เวลา 02.56 น. สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
mongkhonphan
|
 |
« ตอบ #116 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 03:42:20 pm » |
|
นายมงคลพันธ์ แซ่หลี วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411039-4 sec.04 เลขที่ 32 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 09/02/2554 เวลา 15.41 น. ที่ หอลากูน เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
ponyotha
|
 |
« ตอบ #117 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:23:59 pm » |
|
ผมนายวีรพล นุ่มน้อย เลขที่ 11 115330411014-7 วิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง sce 4 วันที่ 09/02/2554 เวลา 16.23 น. อยู่เจริญแมนชั่น เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
Benjawan Onnual
|
 |
« ตอบ #118 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:45:35 pm » |
|
นางสาวเบญจวรรณ อ่อนนวล เลขที่ 55 sec 02 รหัส 1153109030326 สาขาสถิติประยุกต์ ตอบกระทู้เมื่อ 9/2/2554 เวลา 16.45 น. ณ หอพักนำรงค์แมนชัน
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
Nhamtoey
|
 |
« ตอบ #119 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:51:06 pm » |
|
นางสาวเรวดี จันท้าว ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 04 รหัส 115330411006-3 เลขที่ 6 ตั้งกระทู้วันที่ 9/02/2554 เวลา 16.47น. ที่ หอพักโอนิน5 เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
|