Piyarat Mounpao
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 04:34:47 pm » |
|
น.ส.ปิยะรัตน์ เหมือนเผ่า เลขที่ 42 รหัส 115210904050-9 กลุ่ม02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา สถานที่ สำนักวิทยบริการ วันที่ 28/01/54 เวลา 16.34 น. การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ 1.กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่ 2.เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ
|
|
|
|
alongkorn hunbuathong
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 05:22:56 pm » |
|
นายอลงกรณ์ หุ่นบัวทอง รหัส 115330411026-1 เลขที่ 20 กลุ่ม 53341cve Sec 4 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา วันที่ 28/1/54 เวลา 17.23 น . ณ บ้านบางชันวิลล่า เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
kambio
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 07:39:11 pm » |
|
นางสาว นันทวัน มีชำนาญ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา ชีววิทยา sec. 02 เลขที่ 43 รหัส 115210904052-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 ม.ค. 2554 สถานที่ บ้าน เวลา 19.37 น.
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 09:43:22 pm » |
|
กระผม นายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 21.43 น. ความคิดเห็นว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "ทฤษฏีสัมพัทธ์ภาพพิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 11:39:06 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411051-9เลขที่ 44 sec 04 สถานที่ บ้าน วันที่ 28/1/2554 เวลา 23.40 น. ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
tongchai
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 12:34:07 am » |
|
ผมนาย ธงชัย ฉิมสุด นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) sec 17 รหัส 115340441240-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29 มกราคม 2554 ณ หอพักโพธิ์ทอง เวลา 00.31 น
สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ให้เราลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกัน สำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่
|
|
|
|
Penprapa
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 11:42:10 am » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร เลขที่ 40 รหัส 115210904029-3 กลุ่ม 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตอบกระทู้เมื่อวันที่ 29 มค 54 เวลา 11.42 น. ณ วิทยะบริการ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
tum moment
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 12:26:04 pm » |
|
 นายกิติศักดิ์ รัตนมณี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา 53341CVE sec.4 รหัสประจำตัว 115330411027-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา วันที่ 29 มกราคม พศ.2554 ที่หอพักมณีโชติ เวลา 12.25น. เวลาตามแนวคิดของนิวตัน1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
TanGMe
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 05:32:23 pm » |
|
นางสาวภัทรพร ผลอำไพ รหัสนักศึกษา 115110417062-6 เลขที่ 9 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29 มกราคม 2554 เวลา 17.35 น. ที่หออยู่บ้านแมนชั่น ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
siwasit ridmahan
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 09:58:19 pm » |
|
นาย สิวะสิทธิ์ ฤทธิ์มะหันต์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115340441244-3 เลขที่ 33 sec.17 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 29 มกราคม 2554 เวลา 21.58 น. ณ ร้านเน็ต
เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
pongpat
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 11:32:08 pm » |
|
กระผมนายพงษ์พัฒน์ น้อยโพธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เลขที่ 51 รหัส 115330441207-1 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29 มกราคม 2554 ที่ บ้าน เวลา 23.31 น ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 11:55:53 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เลขที่ 49 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29 มกราคม 2554 เวลา 23.57 น. ที่ บ้าน เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา มีความคิดเห็นว่า
การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามารถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ “กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่” “เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ”
|
|
|
|
Kunlaya
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 09:49:44 am » |
|
นางสาวกัลยา เปรมเปรย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 2 เลขที่ 33 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา 09.47 น. ที่ หอพัก เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา มีความคิดเห็นว่า เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
suradet phetcharat
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 03:23:27 pm » |
|
นายสุรเดช เพ็ชรรัตน์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา CVE2 Sec17 เลขที่ 9 รหัส 115340411115-1 ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา 15.23 น.Office สำนักงานบริษัทไทยวัฒน์ ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
sompol w. 53444 INE
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 05:18:34 pm » |
|
  กระผม นายสมพล วงศ์ไชย คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ sec 17 รหัสนักศึกษา 115340441208-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้วันที่ 30 เดือน มกราคม พศ.2554 ที่ จันทร์เพ็ญอพาร์ทเมนท์ เวลา 17:18 สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
Utchima
|
 |
« ตอบ #45 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 07:14:17 pm » |
|
นางสาวอัจจิมา แขกสะอาด นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยการคอมพิวเตอร์ รหัส 115110905096-3 sec.02 เลขที่23 เรียนกับ ผ.ศ. จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้เมื่อ 30/01/54 สถานที่ บ้าน เวลา 19.13 น.
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไปกล่าว คือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่งได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิด การสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวันถึง กระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกตแม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่ สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐานที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #46 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 07:28:42 pm » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 30/01/54 เวลา 19:28 น. สถานที่ หอ เอื้อมเดือน สรุป : ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
hatorikung_nutt
|
 |
« ตอบ #47 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 08:28:29 pm » |
|
นายพงษ์ศักดิ์ เลิศศรี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 เลขที่19 รหัสประจำตัว115340441209-6 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 30/01/54 เวลา20.28 ณ หอพักวงษ์จินดา การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ 1.กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่ 2.เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ
|
|
|
|
satawat
|
 |
« ตอบ #48 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 08:54:58 pm » |
|
นายศตวรรษ รัตนภักดี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 2 เลขที่ 34 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา 20.54 น. ที่ หอพัก เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ความว่า ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
chinnapot
|
 |
« ตอบ #49 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 11:09:17 pm » |
|
นายชินพจน์ เดชเกษรินทร์ คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ-การจักการ รหัส 115340441238-5 sec17 วันที่30/01/54 เวลา23.09 ณ ทรัพย์ถาวรอพาร์ทเม้นท์
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
Sirilak
|
 |
« ตอบ #50 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 11:43:29 pm » |
|
นางสาวสิริลักษณ์ ศัพสุข เลขที่30 sec.02 รหัส115210417064-0 เรียนกับ อ.จรัส บุณยธรรมา วันที่30 มกราคม 2554 เวลา23.43น.
ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
sathian757
|
 |
« ตอบ #51 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 11:48:29 pm » |
|
นายเสถียร ปานามะเส คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441203-9 ตอบกระทู้วันที่ 30/01/54 เวลา 23:48น. สถานที่ หอพัก นวนคร สรุปว่า ในปี ค.ศ.1905 หรือ 101 ปีที่แล้ว ไอน์สไตน์อายุ 26 ปี อาศัยอยูที่กรุงเบอร์น ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ บ้านที่ไอน์สไตน์เคยพักอาศัยปัจจุบันได้เปิดพิพิธภัณฑ์ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านิสิตนั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดิน ที่กำลังวิ่งอย่างนิ่มนวนด้วยความเร็วคงที่ ถ้าเราไม่เปิดหน้าต่าง ( หรืออยุ่ในอุโมงค์มืดๆ ) เราจะไม่มีทางทราบเลยว่ารถกำลังเครื่องที่หรือหยุดนิ่ง ( ไม่ว่าจะใช้การทดลองใดๆ ทางฟิสิกส์ ก็ไม่สามารถบอกได้ ) สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตรืของนิวตัน จะถือว่า " เวลา " จะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า " เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์ " ซึ่งเมื่อเราพิจารณาทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ ความสมบูรณ์ของเวลาจะเปลี่ยนไป
|
|
|
|
iinuyashaa
|
 |
« ตอบ #52 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 10:54:16 am » |
|
นางสาววิภวานี แสงทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเคมี sec 02 รหัส 115210902118-6 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 31/1/2554 ที่บ้าน เวลา 10:54 น.
สรุปได้ว่า
เวลาตามแนวคิดของนิวตัน 1.เวลาและตำแหน่งเป็นฉากหลัง 2.เวลาเป็นอิสระจากทุกสิ่ง 3.เวลาสัมบูรณ์ เวลาตามแนวคิดของไอน์สไตน์ 1.สิ่งที่เรียงลำดับเหตุการณ์ 2.เวลาอันเป็นจิตวิสัย 3.สิ่งที่วัดได้โดยใช้นาฬิกา 4.ไม่ยอมรับเรื่องเวลาสัมบูรณ์ สัมพันธภาพของกาลิเลโอ กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพันธกันด้วยความเร็วคงที่ สิ่งที่ควรทราบ ในสัมพัธภาพแบบกาลิเลโอ ซึ่งรวมถึงในกลศาสตร์ของนิวตัน เราจะถือว่า เวลาจะมีค่าเท่ากัน และเดินด้วยอัตราที่เท่ากันหมด ในทุกๆผู้สังเกตซึ่งเราอาจบอกว่า เวลาเป็นสิ่ง สมบูรณ์ ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ์
|
|
|
|
thanathammarat
|
 |
« ตอบ #53 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 01:20:08 pm » |
|
นายปรัชญาพล ธนาธรรมรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 เลขที่ 14 รหัสประจำตัว115340441204-7 ตอบกระทู้วันที่ 31-01-2554 เวลา 13:20 น. สถานที่ บริษัท Siam lemmerz เนื้อหาสรุปได้ว่า... ทฤษฎีนี้เรียกว่า "พิเศษ" เนื่องจากมันประยุกต์หลักสัมพัทธภาพกับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น ไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปโดยประยุกต์หลักสัมพัทธภาพให้ใช้ทั่วไป กล่าว คือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิด การสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึง กระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่ สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า "แสง"
|
|
|
|
Jutamat
|
 |
« ตอบ #54 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 01:26:42 pm » |
|
น.ส. จุฑามาศ เชื้ออภัย นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec.02 เลขที่ 44 รหัสนักศึกษา 115210904056-6 ผู้สอน อาจารย์จรัส บุญยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 31/01/54 ณ หอพักสวัสดิการนักศึกษา มทร.ธัญบุรี เวลา13.26 น. สรุปว่า การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ 1.กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่ 2.เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ
|
|
|
|
ronachai
|
 |
« ตอบ #55 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 03:50:28 pm » |
|
นาย รณชัย รุกขวัฒน์ วิศวกรรมโยธา 115330411002-2 sce 4 กะทู้เมื่อ วันที่ 31 มกราคม 2554 เวลา 15.51 น. ณ ห้องสมุดมหาลัย กล่าวคือ ใช้ได้กับทุกกรอบอ้างอิง และทฤษฎีดังกล่าวยังรวมผลของความโน้มถ่วง ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษไม่ได้รวมผลของความโน้มถ่วง แต่มันสามารถจัดการกับความเร่ง ได้ถึงแม้ว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพจะทำให้เกิดการสัมพัทธ์กันของปริมาณบางอย่าง เช่น เวลาซึ่งเรามักคิดว่าเป็นปริมาณสัมบูรณ์เนื่องจากประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน ถึงกระนั้นมันก็มีปริมาณบางอย่างที่เป็นปริมาณสัมบูรณ์ทั้ง ๆ ที่เราคิดว่ามันน่าจะเป็นปริมาณสัมพัทธ์ กล่าวให้ชัดคือว่า อัตราเร็วของแสงจะเท่ากันสำหรับทุกผู้สังเกต แม้ว่าพวกเขาจะเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันก็ตาม ทฤษฎีสัมพัทธภาพแสดงให้เห็นว่า c ไม่ใช่แค่ความเร็วของปรากฏการณ์ที่เรียกว่า -- แสง -- เท่านั้น แต่ยังเป็นค่าพื้นฐาน ที่เชื่อมสเปซกับเวลาเข้าด้วยกัน กล่าวโดยเจาะจงคือว่า ทฤษฎีสัมพัทธภาพยืนยันว่าไม่มีวัตถุใดเคลื่อนที่เร็วเท่ากับแสงได้
|
|
|
|
m_japakiya
|
 |
« ตอบ #56 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 05:26:06 pm » |
|
นาย มูฮำหมัดนาวี จะปะกียา เลขที่ 2 sec 17 รหัส 115340411104-5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา ณ บ้าน จรัญสนิทวงศ์ 31-01-54 เวลา 17.25 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา
สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
bobo
|
 |
« ตอบ #57 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 06:06:18 pm » |
|
นางสาว สุนิสา หมอยาดี sec.2 เลขที่74รหัสนักศึกษา 115310903055-7 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ วันที่31ม.ค.54 เวลา18.06น. ที่บ้าน สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
nuubuoe
|
 |
« ตอบ #58 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 06:24:08 pm » |
|
นางสาวจรีรัตน์ ชะโปรัมย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903040-9 sec.02 เลขที่ 63 ตอบกระทู้เมื่อ 31/01/54 เวลา18.24 น.ที่บ้าน  สรุปว่า การเคลื่อนที่เป็นสิ่งสัมพัทธ สำหรับผู้สังเกตสองคนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ เขาจะไม่สามรถบอกได้ว่าใครเคลื่อนที่ สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ 1.กฎทางฟิสิกส์จะเหมือนกันสำหรับผู้สังเกต 2 คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธด้วยความเร็วคงที่ 2.เวลาเป็นสิ่งสมบูรณ์ไม่ใช่เป็นปริมาณสัมพัทธ
|
|
|
|
namwhan
|
 |
« ตอบ #59 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 01:33:42 pm » |
|
นางสาวพรรณฐิณี โสภาวนัส sec.2 เลขที่56รหัสนักศึกษา 115310903033-4 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ ตอบกระทู้วันที่01/01/2554 เวลา13.49น. ที่ ร้านอินเตอร์เน็ต สัมพัทธภาพแบบกาลิเลโอ ลองจินตนาการว่านั่งอยู่บนรถไฟฟ้าใต้ดินที่กำลังวิ่งด้วยความเร็วคงที่ หรือถ้าเราปิดหน้าต่างหรืออยู่ในอุโมงค์มืดๆ เราจะไม่มีทางทราบได้เลยว่ารถกำลังเคลื่อนที่หรือหยุดนิ่ง สิ่งนี้เป้นไปตามกฎที่ว่า กฎทางฟิสิกส์เหมือนกันสำหรับผู้สังเกต2คนที่เคลื่อนที่สัมพัทธกันด้วยความเร็วคงที่ สัจพจน์ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ 1.กฎเกณฑ์ทางฟิสิกส์เหมือนกันในทุกๆรอบอ้างอิงเฉื่อย 2.อัตราของแสงในสุญญากาศมีค่าคงที่สำหรับทุกๆผู้สังเกต
|
|
|
|
|