ratthasart
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 12:06:33 pm » |
|
ผมนายรัฐศาสตร์ ไชยโส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115330441218-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/11/53 เวลา 12.07 น. สถานที่ ห้องพัก มีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระทู้ว่า แสงที่เกิดจากผลึกน้ำตาลแตกออกเป็นชิ้นเล็กๆๆนั้นมีทั้งประจุบวกและลบ การชนของก๊าซไนโตรเจนทำให้โมเลกุลปล่อยรังสี ซึ่งจะสามารถมองเห็นในที่มืดเท่านั้น
|
|
|
|
KanitaSS
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 02:18:42 pm » |
|
นางสาวคณิตา สุดจิตร์ sec2 เลขที่46 รหัส115310903030-0 วันที่8/11/53 เวลา14.13น. สถานที่Banoffee Place1 สรุปได้ดังนี้เมื่อผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออกผลึกจะแตกออกเป็นชิ้นย่อยๆ บางชิ้นมีประจุลบอยู่เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงแวบเดียว
|
|
|
|
kranjana
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 02:36:17 pm » |
|
ชื่อ กาญจนา แสงวงศ์ sec 2 รหัส 115210904068-1 เลขที่ 39 คณะ วิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา 8/11/53 เวลา 14.30 น. ณ หอใน สาระความรู้ที่ได้คือ เกิดจากประจุไฟฟ้าซึ่งมีทั้งประจุบอกและประจุลบซึ่งเกิดการเคลื่อนที่เข้าหากันแล้วชนกับมวลของก๊าซไนโตเจนในอากาศ ทำให้เราสามารถมองเห็นแสงสีที่เกิดขึ้นได้แต่จะต้องเป็นในที่มืดเท่านั้น และสภาพอากาศแห้ง จึงจะเกิดขึ้นได้
|
|
|
|
Penprapa
บุคคลทั่วไป
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 02:40:19 pm » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec 2 เลขที่ 34 รหัส 115210904029-3 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 เวลา 14.33 น. ณ ห้องสมุดคณะวิทย์ฯ สรุปว่า เมื่อผลึกแตกทำให้อิเล็กตรอนข้ามรอยแยกไปหาประจุบวก เกิดการชนของก๊าซไนโตรเจนโดยจะปล่อยรังสีออกมา แต่จะเห็นแค่แวบเดียวเท่านั้น
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 02:48:12 pm » |
|
ดิฉันนางสาวสุมินตรา งามสมบัติ รหัส 115210452022-4 sec 02 ตอบที่ อาคารวิทยบริการ วันที่ 8 พ.ย. 2553 เวลา 14.47 น.
ข้อคิดเห็นที่ได้ คือ การเกิดประกายไฟ เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้นประกายไฟนี้จึงเกิดจาก อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 03:01:29 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 35 ผู้สอน ผศ.จรัส บุญยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom เวลา 15:00 น สามารถสรุปได้ว่า ประกายไฟที่เกิดนั้น เกิดจากการเคี้ยวลูกกวาดแตกเป็นชิ้นเล็กๆ บางชิ้นเป็นประจุ+ บางชิ้นเป็นประจะ- เมื่ออยู่ตรงข้ามกัน อิเล็กตรอนในประจุ- จะกระโดดข้ามระหว่างช่วงรอยเเตก เเละไปชนกับโมเลกุลก๊าซไนโตรเจนและโมเลกุลก๊าซไนโตรเจนจะปล่อยรังสีเล็กน้อย สามมารถมองเห็นในที่มืด แต่เมื่อโดนน้ำลายประกายไฟจะไม่เกิดขึ้น
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 08:11:00 pm » |
|
ผมนาย ชานนท์ วรรณพงษ์ Sec2 เลขที่ 4 รหัสนักศึกษา 115040441083-1 อ่าข้อมูล เวลา 20.09 ณ หอพักลากูล สรุปได้ว่าประกายไปจากลูกอมเกิดจากที่ประจุลบกระโดผ่านช่องรอยแตกที่เกิดจาก การบีบไปหาประจุบวก ซึ่งระหว่างการกระโดก็ได้ชนเข้ากับโมเลกุลของก๊าซไนโตเจนเข้า  เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้นประกายไฟนี้จึงเกิดจาก อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมาครับผม 
|
|
|
|
Phatcharee
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 09:15:57 pm » |
|
นางสาวพัชรี มากพริ้ม sec 02 รหัส 115110903048-6 วันที่ 8/11/2553 เวลา 21.12 ณ บ้าน สรุปได้ว่า แสงที่เกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอมนั้นเกิดจาก ประจุไฟ้า อิเล็กตรอนกระโดข้ามระหว่างช่วงรอยแตก ทำให้เกิดการชนกัก๊าซโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ซึงทำให้โมเลกุลปลดปล่อยรังสีออกมา ทำใหเราเห็นเป็นแสงสีน้ำเงินเกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอม
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 09:43:02 pm » |
|
นางสาว นิติการณ์ รัตนบุรี รหัส 115310903052-4 sec 02 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 เวลา 21.36 น. ณ หอพักตัวเอง สรุปดังนี้ แสงที่เกิดจากประจุไฟฟ้า ผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออกเนื่องจากถูกแรงกดหรือเกิดจากการเคี้ยว บางชิ้นมีประจุลบ บางชิ้นมีประจุบวก อิเล็กตรอนจะชนกับโมเลกุลของในโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี มีปริมาณน้อยมาก แต่สามารถเห็นได้ในที่มืด ถ้าลูกกวาดเปียกน้ำลาย การแสดงจะล้มเหลว เพราะน้ำลายเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี
|
|
|
|
Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 10:28:32 pm » |
|
นาย ธาตรี ศรัสวัสดิ์ นักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec02 เลขที่71 รหัส 115310906029-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 เดือน พฤศจิกายน พศ.2553 ที่บ้าน เวลา 22.23 น. สรุปดังนี้ แสงที่เกิดจากประจุไฟฟ้า ทำให้ลูกกวาดแตกออกเป็นชิ้นๆ จะแสดงปรากฎการณ์ระหว่างการกระโดดอิเล็คตรอน จะชนกับโมเลกุลไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซมีปริมาณน้อยแต่สามารถเห็นได้ในที่มืด
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 11:46:29 pm » |
|
กระผม นายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว115330411005-5 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 เดือนพฤษจิกายน พศ2553ที่ สวนสุทธิพันธ์ เวลา 23.40 แสงที่เกิดขึ้นเกิดจากอิเล็กตอนของก้อนลูกกวดที่แตกออกชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจนทำให้ โมเลกุลของก๊าซปลดปล่อยพลังงาน หรือรังสี แสงที่เห็นเกิดเร็วมากและจะสามารถเห็นได้ในที่มืดและอยู่ในสภาวะอากาสที่ไม่เปียก
|
|
|
|
Pichat Soysamrong
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:12:26 am » |
|
กระผม นาย พิเชษฐ์ สร้อยสำโรง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411003-0 เลขที่ 2 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พศ. 2553 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา 12:07:23 มีข้อคิดเห็นว่า คือ วัตถุแต่ละชนิดเมื่อมีการขัดถู หรือมีการกระทำใดๆกัน จะเกิดแสงจากการชนกันของอิเล็กตรอนกับก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซไนโตรเจนปลดปล่อยรังสีที่มีปริมาณน้อยมาก แต่เราสามารถมองเห็นในที่มืด
|
|
|
|
Cv__gig
มือใหม่หัดโพส
ออฟไลน์
กระทู้: 4
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:27:15 am » |
|
กระผม นาย ชำนาญกิจ ศิริยานนท์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411004-8 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พศ. 2553 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา12:25:19 am มีข้อคิดเห็นว่า คือ แสงที่เกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอมนั้นเกิดจาก ประจุไฟ้า อิเล็กตรอนกระโดข้ามระหว่างช่วงรอยแตก ทำให้เกิดการชนกัก๊าซโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ซึงทำให้โมเลกุลปลดปล่อยรังสีออกมา ทำใหเราเห็นเป็นแสงสีน้ำเงินเกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอม
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 01:13:54 am » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 09/11/2553 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 01.13 น.
ประกายไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้าเพราะเมื่อลูกกวาดแตกออกจะมีบางชิ้นที่เป็นประจุลบหรือมีอิเล็คตรอน และบางชิ้นก็จะมีประจุบวกหรือโปรตรอนสลับกันไป และเมื่ออิเล๊คตรอนจากชิ้นย่อยของลูกกวาดพุ่งไปยังช่องว่างที่เกิดจากการแตกออกของลูกกวาดเพื่อไปหาชิ้นของลูกกวาดที่มีประจุเป็นบวก จะทำให้อิเล็คตรอนที่พุ่งไปนั้นชนหรือประสานกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจนทำให้เกิดการปลดปล่อยรังสีจึงทำให้เกิดประกายไฟฟ้าขึ้น การเกิดประกายไฟฟ้านี้จะเกิดขึ้นช่วงเวลาแว๊บเดียวและจะหายไป ทำให้มองในที่มืดก็จะเห็นประกายไฟฟ้า
|
|
|
|
Kunlaya
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:27:25 pm » |
|
ดิฉันนางสาวกัลยา เปรมเปรย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec 02 รหัสประจำตัว 115210441262-0 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9/11/53 ที่ วิยะฯ เวลา 12.24 น. มีข้อคิดเห็นว่า ลูกกวาดซึ่งกำลังถูกเคี้ยวจนแตกออกเป็นหลายๆชิ้น ชิ้นที่แตกออกบางชิ้นก็มีประจุลบ บางชิ้นก็มีประจุบวก เมื่อทั้งสองชิ้นอยู่ในลักษณะใกล้กันหรือตรงกันข้ามกัน ประจุลบก็จะกระโดดเข้าหาประจุบวกทันที ก็อาจทำเกิดประกายไฟออกมา แต่ถ้าเศษลูกกวาดนั้นโดนน้ำลายจนเปียกแล้ว ประกายไฟนั้นอาจไม่เกิดขึ้น เนื่องจากน้ำลายเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี
|
|
|
|
Jantira
|
 |
« ตอบ #45 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:32:00 pm » |
|
ชื่อนางสาวจันทิรา รัตนพันธุ์ คณะวิทายาศาสตร์และโทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่58 รหัส1153109030425 วันที่09/11/2553 เวลา12.29 สถานที่banoffee
สรุป แสงเกิดจาก เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบแสดงว่ามีอิเลคตรอน ดังนั้นประกายไฟนี้จึงเกิดจาก อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
Eakachai_ie
|
 |
« ตอบ #46 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 03:49:32 pm » |
|
นาย เอกชัย สงวนศักดิ์ รหัส 115040441086-4 sec 02 ตอบที่ หอพักมาลีแมนชัน วันที่ 9 พ.ย. 2553 เวลา 12.00 น. สรุป การเกิดประกายไฟ เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้น อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #47 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 04:00:59 pm » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย รหัส 115340441222-9 sec 17 วันที่ 9/พย./2553 เวลา 16.00 ณ บริษัท เจเอสออโตเวิร์ค สรุป เมื่อลูกกวาดถูกแรงกดทำให้เกิดการเสียดสี เมื่อแตกออกบางชิ้นเป็นประจุลบอยู่ แสดงว่าอิเล็กตรอนชิ้นตรงข้ามเป็นบวก และอิเล็กตรอนจะกระโดดข้ามช่องว่าง รอยแตกเพื่อหาประจุบวก อิเล็กตรอนจะชนกับ โมเลกุลของก๊าซในโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสีออกมา
|
|
|
|
Narumol
|
 |
« ตอบ #48 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 05:28:50 pm » |
|
น.ส.นฤมล กำลังฟู เลขที่ 20 Sec 2 รหัส115210417031-9 การเกิดประกายไฟ เกิดเมื่อผลึกน้ำตาลถูกบีบแล้วแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้น อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #49 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 07:03:10 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร วิศวกรรมโยธา(ต่อเนื่อง) รหัส 115330411036-0 sec.04 วันที่ 09/พ.ย./53 เวลา 06:52 pm เมื่อลูกอมแตกออก ประจุบวกจะกระโดดเข้าหาประจุลบตามช่องว่างของรอยแตก จึงไปชนกับโมเลกุลชองก๊าซไนโตรเจนมันจึงปล่อยรังสีออกมา
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #50 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 08:07:11 pm » |
|
นาย ทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี รหัส 115330411008-9 sec.04 วันที่ 09 พ.ย.2553 ตอบที่ หอพักมาลีแมนชัน เวลา 20:06เมื่อลูกกวาดแตกออก ผลึกจะแตกออกเป็นชิ้นย่อยๆ แล้วจะเกิดประจุลบและบวก แล้วก็จะวิ่งเข้าหากันจึงไปชนกับโมเลกุลชองก๊าซไนโตรเจนมันจึงปล่อยรังสีออกมา
|
|
|
|
TanGMe
|
 |
« ตอบ #51 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:04:45 pm » |
|
ดิฉันนางสาวภัทรพร ผลอำไพ รหัส 115110417062-6 เลขที่ 6 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 9 พ.ย. 53 เวลา 21.02 น. ที่หอ อยู่บ้านแมนชั่น สรุปได้ว่า เมื่อผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออก เป็นชิ้นย่อยๆ บางชิ้นมีปะจุลบอยู่ ส่วนชิ้นตรงกันข้ามกับชิ้นนี้ จะมีประจุบวก อิเล็กตรอนกระโดดข้ามระหว่างช่วงรอยแตก ทำให้เกิดการชนกับก๊าซโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ซึงทำให้โมเลกุลปลดปล่อยรังสีออกมาแต่ในปริมาณที่น้อย ทำใหเราเห็นเป็นแสงสีน้ำเงินเกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอมนั้นเอง
|
|
|
|
namtan
|
 |
« ตอบ #52 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:12:16 pm » |
|
ดิฉัน นางสาวณัชชา ธิติบุญจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอาหาร sec02 รหัสประจำตัว115210417055-8 เลขที่ 21 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ที่หอพักโอนิน3 เวลา 21.12น. ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ แสงนี้เกิดจากประจุไฟฟ้า เมื่อผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออก เนื่องจากการเคี้ยวหรือถูกแรงกด ผลึกจะแตกออกเป็นชิ้นย่อยๆ หลายๆชิ้น บางชิ้นมีประจุลบ(อิเล็กตรอน) บางชิ้นมีประจุบวก(โปรตรอน) ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นเพียงแว็บเดียว สาเหตุที่ทำให้เห็นแสงสีน้ำเงินในปากขณะที่เคี้ยว เนื่องจากประจุลบ(อิเล็กตรอน) จะกระโดดข้ามช่องว่างของรอยแตกเพื่อไปหาประจุบวก(โปรตรอน) ระหว่างการกระโดดประจุลบ(อิเล็กตรอน) จะชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปลดปล่อยรังสี จึงทำให้เห็นแสงสีน้ำเงินนั่นเอง
|
|
|
|
pool
|
 |
« ตอบ #53 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 10:09:03 pm » |
|
นางสาวดาวประกาย แก้วเรือง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452059-6 SEC 2 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 เวลา 22.09 น. ที่หอพัก มีความเห็นในกระทู้ว่า ประกายไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้าเพราะเมื่อลูกกวาดแตกออกจะมีบางชิ้นที่เป็น ประจุลบหรือมีอิเล็คตรอน และบางชิ้นก็จะมีประจุบวกหรือโปรตรอนสลับกันไป และเมื่ออิเล๊คตรอนจากชิ้นย่อยของลูกกวาดพุ่งไปยังช่องว่างที่เกิดจากการแตก ออกของลูกกวาดเพื่อไปหาชิ้นของลูกกวาดที่มีประจุเป็นบวก จะทำให้อิเล็คตรอนที่พุ่งไปนั้นชนหรือประสานกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจนทำให้ เกิดการปลดปล่อยรังสีจึงทำให้เกิดประกายไฟฟ้าขึ้น การเกิดประกายไฟฟ้านี้จะเกิดขึ้นช่วงเวลาแว๊บเดียวและจะหายไป ทำให้มองในที่มืดก็จะเห็นประกายไฟฟ้า
|
|
|
|
Thamanoon
|
 |
« ตอบ #54 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 10:41:48 pm » |
|
กระผมนายธรรมนูญ พุทธวงษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411009-7 เรียนกับอาจาร์ย จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 พ.ย. 2553 ที่บ้านเช่า ซอยอีสเทิร์น เวลา 22.41น. ประกายไฟฟ้าที่เรามองเห็นจากลูกกวาด เกิดขึ้นได้จากผลึกน้ำตาลในลูกกวาด ที่ถูกเคี้ยวจนแตกเป็นชิ้นย่อยๆ ทำให้อิเล็กตรอนจะกระโดดข้ามช่องว่างของรอยแตกเพื่อไปหาประจุบวกระหว่างการกระโดด อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลก๊าซไนโตรเจน ทำให้ปล่อยรังสีออกมา
|
|
|
|
Mr.Tinnakorn
|
 |
« ตอบ #55 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 11:12:14 pm » |
|
นาย ทินกร สุพรรณสืบ รหัส 115330411049-3 sec 04 วันที่ 9 พ.ย. 2010 เวลา 11.11.29.pm ที่หอ ลากูน สรุปได้ว่า เมื่อผลึกน้ำตาลในลูกกวาดแตกออก เป็นชิ้นย่อยๆ บางชิ้นมีปะจุลบอยู่ ส่วนชิ้นตรงกันข้ามกับชิ้นนี้ จะมีประจุบวก อิเล็กตรอนกระโดดข้ามระหว่างช่วงรอยแตก ทำให้เกิดการชนกับก๊าซโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ซึงทำให้โมเลกุลปลดปล่อยรังสีออกมา ทำใหเราเห็นเป็นแสงสีน้ำเงินเกิดขึ้นขณะเคี้ยวลูกอม
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #56 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 06:51:19 am » |
|
นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ หอพัก โฟร์บี แมนชั้น เวลา. 6:51 มีความเห็นว่า การชนของโมเลกุลของก๊าซในโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี ซึ่งมีปริมาณน้อยมาก แต่ก็สามารถมองเห็นได้ในที่มืด
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #57 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 02:11:55 pm » |
|
นาย นัฐพล การคณะวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 เวลา 14.16 น. สรุป การเกิดประกายไฟ เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้นประกายไฟนี้จึงเกิดจาก อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #58 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 02:16:34 pm » |
|
นาย นัฐพล การคณะวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 เวลา 14.16 น. สรุป การเกิดประกายไฟ เมื่อผลึกน้ำตาลแตกออกจะออกเป็นชิ้นย่อยหลายชิ้น แต่ล่ะชิ้นจะมีประจุบวก และลบ ต่างกันไป ดังนั้นประกายไฟนี้จึงเกิดจาก อิเล็กตรอนชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน การชนกับโมเลกุลของก๊าซไนโตรเจน ทำให้โมเลกุลของก๊าซปล่อยรังสี เกิดประกายไฟขึ้นมา
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #59 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 03:32:15 pm » |
|
ผมนาย ญชย ประสพเนตร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ที่ วิยะฯ เวลา 15.33 น. มีข้อคิดเห็นว่า ลูกกวาดซึ่งกำลังถูกเคี้ยวจนแตกออกเป็นหลายๆชิ้น ชิ้นที่แตกออกบางชิ้นก็มีประจุลบ บางชิ้นก็มีประจุบวก เมื่อทั้งสองชิ้นอยู่ในลักษณะใกล้กันหรือตรงกันข้ามกัน ประจุลบก็จะกระโดดเข้าหาประจุบวกทันที ก็อาจทำเกิดประกายไฟออกมา แต่ถ้าเศษลูกกวาดนั้นโดนน้ำลายจนเปียกแล้ว ประกายไฟนั้นอาจไม่เกิดขึ้น เนื่องจากน้ำลายเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี
|
|
|
|
|