civil kang
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 09:27:34 pm » |
|
นาย สราวุฒิ ดีดวงพันธ์ นศ.วิศวกรรมโยธา sec4 รหัส 115330411028-7 เลขที่ 24 วันที่ 8/11/2553 เวลา 21:27 เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเลคตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน จึงทำให้เกิดเป็นประจุไฟฟ้า วัตถุที่มีลำดับอยู่บนจะสูญเสียอิเลคตรอน(ทำให้มีประจุไฟฟ้า เป็นบวก) ส่วนวัตถุที่มีดับดับด้ายล่างลงมาจะเป็นผู้รับอิเลคตรอน จึง(ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ)
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 09:51:07 pm » |
|
นางสาว นิติการณ์ รัตนบุรี รหัส 115310903052-4 sec 02 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 เวลา 21.46 น. ณ หอพักตัวเอง เบนจามิน แฟรงกลิน เป็นผู้กำหนดประจุบวกและประจุลบ โดยให้ประจุที่เกิดขึ้นบนแท่งแก้ว เมื่อถูกับผ้าไหมเป็นประจุบวก เมื่อถูกับผ้าขนหนูจะเป็นประจุลบ N ไม่แสดงประจุ โปรตรอนเท่ากับประจุบวก สภาพปกติอะตอมมีอิเล็กตรอนลบ เท่ากับโรตรอน ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้า เคลื่อนไปได้สะดวก ฉนวนไฟฟ้า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนไปได้สะดวก
|
|
|
|
Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 10:40:31 pm » |
|
นาย ธาตรี ศรัสวัสดิ์ นักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec02 เลขที่71 รหัส 115310906029-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 เดือน พฤศจิกายน พศ.2553 ที่บ้าน เวลา 22.38 น. สรุปดังนี้ ตัวนำไฟฟ้าคือวัตถุที่ยอมให้ไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไปได้เช่นโลหะต่างๆ สารละลายกรด เบส เกลือ ฉนวนไฟฟ้าคือวัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่านเช่น กระเบื้องเคลือบ เป็นต้น
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 10:59:24 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 35 ผู้สอน ผศ.จรัส บุญยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 เวลา 22:59 ณ ห้องพักส่วนตัวซ.zoom สรุปได้ว่า ประจุไฟฟ้าเกิดจาก วัตถ 2 ชนิดมาขัดสีกัน เช่น ถ้าเอาแท่งยางเเข็งมาถูกับขนสัตว์ แท่งยางจะมีประจุไฟฟ้าลบเพราะได้รับอิเล็กตรอน ส่วนขนสัตว์จะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเพราะได้สูญเสียอิเล็กตรอน ทั้งนี้การเลียงลำดับการให้และรับอิเล็กตรอนดังกล่าววัตถุนั้นจะต้องสะอาด และเเห้ง (ส่งกระทู้ใหม่เนื่องจากกระทู้เก่าระบุเวลาผิด)
|
|
|
|
toonpccphet
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: พฤศจิกายน 08, 2010, 11:11:39 pm » |
|
นายสุรเชษฐ ทองโฉม sec 02 เลขที่ 59 รหัส 115310903044-1 ตอบกระทู้วันที่ 8/11/2553 เวลา 23.11 น. ณ ห้องนอนส่วนตัวในบ้านพัก เมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกันเราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง,พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยาก แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 01:00:17 am » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 09/11/2553 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 01.00 น.
การเกิดประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้านั้นเกิดได้จากการที่วัตถุ 2 ชนิด ทำการเสียดสีหรือขัดสีกัน วัตถุที่มีการสูญเสียอิเล็คตรอนจะทำให้วัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก(โปรตรอน)เนื่องจากการเสียดสีของวัตถุใดๆนั้นจะทำให้อิเล็คตรอนของวัตถุนั้นหลุดออกไปบางส่วนทำให้มีโปรตรอนมากกว่าวัตถุนั้นจึงมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ทำให้วัตถุอีกชนิดหนึ่งที่มาเสียดสีด้วยได้รับอิเล็คตรอนเพิ่มขึ้นจึงมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ และเมื่อวัตถุที่มีประจุเป็นบวกเข้าใกล้โลหะหรือวัตถุกลุ่มโลหะ จะทำให้อิเล็คตรอนพุ่งเข้าสู่วัตถุที่มีประจุเป็นบวกจึงทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นได้ คุณสมบัติของตัวนำไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้าที่ดีจะต้องมีอิเล็กตรอนอิสระจำนวนมาก ส่วนใหญ่จะเป็นพวกโลหะ ซึ่งในตัวนำจะเป็นการไหลของอิเล็กตรอนไหลได้มาก เพราะมีอิเล็กตรอนให้ไหลมาก ส่วนฉนวนไฟฟ้าอะตอมของฉนวนจะมีแรงพันธะยึดอย่างแน่น เช่นพันธะโคเวเลนต์ ทำให้มีอิเล็กตรอนหลุดออกมาเป็นอิสระน้อย กระแสจึงไหลได้น้อย
|
|
|
|
Pichat Soysamrong
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 01:31:43 am » |
|
กระผม นาย พิเชษฐ์ สร้อยสำโรง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411003-0 เลขที่ 3 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พศ. 2553 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา 01:30:48 am มีข้อคิดเห็นว่า คือ ประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุฟฟ้าเป็นบวก วัตถุใดได้รับอิเลคตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ อิเลคตรอนเท่านั้นที่มีการเคลื่อนที่ ประจุไฟฟ้าบวกจะไม่มีการเคลื่อนที่
|
|
|
|
Jantira
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:17:55 pm » |
|
ชื่อนางสาวจันทิรา รัตนพันธุ์ คณะวิทยาศาสตร์และโทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่58 รหัส1153109030425 วันอังคาร ที่9 พ.ย. 2552 เวลา 12.15 น. สถานที่ banoffee ประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบอิเล็กตรอนเท่านั้นที่มีการเคลื่อนที่ ประจุไฟฟ้าบวกจะไม่มีการเคลื่อนที่เพราะมีมวลมากกว่าอิเล็กตรอน ฉนวนไฟฟ้าปกติจะมีการนำไฟฟ้าเป็นกลาง
|
|
|
|
Kunlaya
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 12:20:08 pm » |
|
นางสาวกัลยา เปรมเปรย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec02 รหัส 115210441262-0 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9/11/2553 เวลา 12:17 สถานที่ วิดยะฯ อ่านเนื้อเรื่องแล้วสรุปว่า ประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุฟฟ้าเป็นบวก วัตถุใดได้รับอิเลคตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ อิเลคตรอนเท่านั้นที่มีการเคลื่อนที่ ประจุไฟฟ้าบวกจะไม่มีการเคลื่อนที่เพราะมีมวลมากกว่าอิเลคตอรน
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 03:03:24 pm » |
|
นาย ชานนท์ วรรณพงษื รหัส 115040441083-1 sec 02 เลขที่ 4 อ่านข้ิอมูลที่ หอพัก ลากูล วันที่ 9 พ.ย. 53 เวลา15.01 น. สรุป การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ )
|
|
|
|
Narumol
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 05:42:04 pm » |
|
น.ส.นฤมล กำลังฟู เลขที่20 Sec 2 รหัส115210417031-9 การเกิดประจุเกิดจากการขัดสี เช่นคนที่สวมรองเท้าหนังแล้วเดินไปบนพื้นที่ปูด้วยขนสัตว์หรือพรม เมื่อเดินไปจับลูกบิดประตูจะมีความรู้สึกว่าถูกไฟช็อต ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าเกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ2ชนิดนั่นเอง
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #41 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 08:25:13 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร วิศวกรรมโยธา(ต่อเนื่อง) รหัส 115330411036-0 sec.04 วันที่ 09/พ.ย./53 เวลา 08.25 pm สถานที่ หอโฟร์ B 2 เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเลคตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #42 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 08:32:30 pm » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย รหัส 115340441222-9 sec 17 เลขที่ 25 วันที่ 9/พย./2553 เวลา 20.32 น จัดทำ หอพักปานรุ้ง สรุป เมื่อวัตถุสองชนิดได้เกิดการเสียดสีกันเกิดขึน วัตถุที่สูญเสียอิเล็กตรอนไป จะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุไดที่ได้รับอิเล็คตรอนจะมีประจุไฟฟ้าที่เป็นลบ จึงทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุ เมื่ออิเล็ดตรอนที่มีค่าที่ต่างกัน เข้าไกล้กันจึงทำให้อิเล็ดตรอนที่ต่างกัน กระโดดหากัน จึงรู้สึกเหมือนมีไฟฟ้าช๊อต
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #43 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 08:43:06 pm » |
|
นาย ทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี วิศวกรรมโยธา 115330411008-9 sec.04 หอพัก มาลีแมนชัน วันที่ 9 พ.ย. 53 เวลา20.43 น. เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเลคตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน
|
|
|
|
Phatcharee
|
 |
« ตอบ #44 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:00:26 pm » |
|
นางสาว พัชรี มากพริ้ม sec 02 รหัส 115110903048-6 ตอบกระทู้วันที่ 9/11/2553 เวลา 20.56น. ณ บ้าน เมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกันเราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง,พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยาก แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้
|
|
|
|
boatvivi
|
 |
« ตอบ #45 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:05:38 pm » |
|
นางสาวณัฎฐพร ชื่นสมบัติ เลขที่ 1 115010451027-8 Sec02 เวลา 21.05 น. ที่บ้านพักคลองสาม
ได้เข้ามาอ่านและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดประจุ และคุณสมบัติของตัวนำไฟฟ้า
|
|
|
|
namtan
|
 |
« ตอบ #46 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:25:18 pm » |
|
ดิฉัน นางสาวณัชชา ธิติบุญจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอาหาร sec02 รหัสประจำตัว115210417055-8 เลขที่ 21 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ที่หอพักโอนิน3 เวลา 21.25น. ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ การเกิดประจุไฟฟ้าเกิดจากการขัดสี ตัวอย่างเช่น คนที่สวมใส่รองเท้าหนังแล้วเดินไปบนพื้นที่ปูด้วยขนสัตว์หรือพรม เมื่อเดินไปจับลูกบิดประตู จะมีความรู้สึกว่าถูกไฟช็อต ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิดนั่นเอง ซึ่งวัตถุใดสูญเสียอิเล็กตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ต้องขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกันด้วย
|
|
|
|
pool
|
 |
« ตอบ #47 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 09:49:58 pm » |
|
นางสาวดาวประกาย แก้วเรือง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452059-6 SEC 2 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 เวลา 21.50 น. ที่หอพัก มีความเห็นในกระทู้ว่า การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ) ตัวนำและฉนวน ฉนวนไฟฟ้าปกติจะมีการนำไฟฟ้าเป็นกลาง คือมีอิเล็กตรอนเท่ากับประจุบวก
|
|
|
|
TanGMe
|
 |
« ตอบ #48 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 11:02:16 pm » |
|
นางสาวภัทรพร ผลอำไพ sec 02 เลขที่ 6 รหัส 115110417062-6 วันที่่ 9 พ.ย. 53 สถานที่ หอ เวลา 11.02 น. สรุปว่า วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเลคตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน
|
|
|
|
Mr.Tinnakorn
|
 |
« ตอบ #49 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 11:05:53 pm » |
|
นาย ทินกร สุพรรณสืบ รหัส 115330411049-3 sec 04 วันที่ 9 พฤศจิกายน 2010 เวลา 11.04.35pm. ณ หอพักลากูลแมนชัน เบนจามิน แฟรงกลิน เป็นผู้กำหนดประจุบวกและประจุลบ โดยให้ประจุที่เกิดขึ้นบนแท่งแก้ว เมื่อถูกับผ้าไหมเป็นประจุบวก เมื่อถูกับผ้าขนหนูจะเป็นประจุลบ N ไม่แสดงประจุ โปรตรอนเท่ากับประจุบวก สภาพปกติอะตอมมีอิเล็กตรอนลบ เท่ากับโรตรอน ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้า เคลื่อนไปได้สะดวก ฉนวนไฟฟ้า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนไปได้สะดวก
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #50 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 10:39:22 am » |
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ หอพัก โฟร์บี แมนชั้น เวลา. 10:42 มีความเห็นว่า การเกิดประจุไฟฟ้าขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเล็กตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุที่มาขัดสีกัน ตัวนำและฉนวนไฟฟ้าคือ ตัวนำจะแสดงการเกิดไฟฟ้าโดยการเหนียวนำฉนวนไฟฟ้าจะเป็นตัวกลางทางไฟฟ้า
|
|
|
|
tanunnunoi
|
 |
« ตอบ #51 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 11:45:11 am » |
|
กระผมนาย ฐานันดร์ หนูน้อย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411050-1 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ หอพัก เจริญสุข แมนชั้น เวลา. 11:45 น. สรุป การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ) ตัวนำและฉนวน ฉนวนไฟฟ้าปกติจะมีการนำไฟฟ้าเป็นกลาง คือมีอิเล็กตรอนเท่ากับประจุนั้นเป็นบวก
|
|
|
|
ratthasart
|
 |
« ตอบ #52 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 01:56:42 pm » |
|
ผมนายรัฐศาสตร์ ไชยโส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115330441218-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/11/2553 เวลา 13.55น. สถานที่ ห้องพัก มีความเห็นเกี่ยวกับกระทู้ว่า เมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกันเราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง,พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้น โอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยาก แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #53 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 03:42:39 pm » |
|
นาย นัฐพล การคณะวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ที่ อาคารวิทยบริการ เวลา 15.47 น. สรุป การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ) ตัวนำและฉนวน ฉนวนไฟฟ้าปกติจะมีการนำไฟฟ้าเป็นกลาง คือมีอิเล็กตรอนเท่ากับประจุบวก
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #54 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 03:52:18 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/11/2553 เวลา 15.53 สถานที่ วิทยฯ อ่านเนื้อเรื่องแล้วสรุปว่า ประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดสูญเสียอิเลคตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก วัตถุใดได้รับอิเลคตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ อิเลคตรอนเท่านั้นที่มีการเคลื่อนที่ ประจุไฟฟ้าบวกจะไม่มีการเคลื่อนที่เพราะมีมวลมากกว่าอิเลคตอรน
|
|
|
|
Sirilak
|
 |
« ตอบ #55 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 09:43:21 pm » |
|
นางสาวสิริลักษณ์ ศัพสุข รหัสนักศึกษา115210417064-0 เลขที่24 Sec02 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่10 พฤศจิกายน 2553 เวลา21.40น. หอพักโฟว์บี
การเกิดประจุไฟฟ้า คือ เมื่อเรานำเอาวัตถุ 2 ชนิด มาขัดสีกัน วัตถุที่อยู่ด้านบนจะสูญเสียอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ) ส่วนวัตถุที่อยู่ด้านล่าง จะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน ( ทำให้มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ) จึงทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุ เมื่ออิเล็ดตรอนที่มีค่าที่ต่างกัน เข้าไกล้กันจึงทำให้อิเล็ดตรอนที่ต่างกัน กระโดดหากันจึงรู้สึกเหมือนมีไฟฟ้าช๊อต
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #56 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 10:12:54 pm » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล sec 02 รหัส 1153109030102 เลขที่ 43 เวลา 21.52 นาที สาขาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี ตอบกระทู้วันที 10/11/53 สถานที่หอใน การเกิดประจุไฟฟ้าเกิดจากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด อิเล็กตรอนจะเคลื่อนทีเป็นลบ การเหนี่ยวนำฉนวนไฟฟ้าจะเป็นกลางทางไฟฟ้า อิเล็กตรอนเคลื่อนที่มากเป็นผลทำให้อะตอมยังคงเป็นกลาง
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #57 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 12:48:32 am » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 11/11/2553 เวลา 12.48 น. สรุปได้ว่าการเกิดประจุไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการขัดสีของวัตถุ2ชนิดวัตถุใดสูญเสียอิเล็กตรอนไปจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดได้รับอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ
|
|
|
|
Thamanoon
|
 |
« ตอบ #58 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 01:48:27 am » |
|
นายธรรมนูญ พุทธวงษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411009-7 เลขที่ 9 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 11/11/2553 สถานที่ บ้านเช่า ซอยอีสเทิร์น เวลา 1.48 น.
การเกิดประจุไฟฟ้า จากการขัดสีของวัตถุ 2 ชนิด วัตถุใดที่มีการสูญเสียอิเล็คตรอนไปจะทำให้วัตถุนั้นมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก ส่วนวัตถุใดรับอิเล็กตรอนมาจะมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ตัวนำไฟฟ้า คือวัตถุที่ยอมให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผ่านได้ดี การเหนี่ยวนำไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าบวกจะไม่เคลื่อนที่ เพราะมีมวลมากกว่าอิเล็กตรอน และ ฉนวนไฟฟ้าคือการที่ประจุไฟฟ้าไม่เคลื่อนที่ไปจากเดิมจากการให้ประจุไฟฟ้า
|
|
|
|
Pratanporn
|
 |
« ตอบ #59 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 06:06:52 am » |
|
นายประทานพร พูลแก้ว sec 02 เลขที่ 69 รหัส 115310903057-3 ตอบกระทู้วันที่ 11 พ.ย. 2553 เวลา 06:04 น. ณ ที่บ้าน สรุปเนื้อหา โดยทั่วไปแล้วประจุจะกระจายกันอยู่ทั่วไปในวัตถุ โดยมีอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอนเป็นองค์ประกอบ เมื่อเกิดการขัดสีกันจะทำให้เกิดประจุบวกและประจุลบ
|
|
|
|
|