ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: สิงหาคม 01, 2007, 10:18:00 pm » |
|
ขณะที่หัวใจของคนไข้ใกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจจะไม่สามารถปั๊มเลือดไปเลี้ยงสมองและกล้ามเนื้อได้ทัน ถ้าไม่รีบทำให้หัวใจเต้น คนไข้จะต้องเสียชีวิตค่อนข้างแน่นอน เพื่อจะช่วยชีวิตคนไข้ประเภทนี้ จะต้องกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจให้กลับเข้าสู่จังหวะการเต้นในระดับปกติโดยเร็ว เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้น กินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูลในเวลา 0.002 วินาที หรือให้กำลังไฟฟ้าถึง 100 กิโลวัตต์ ในโรงพยาบาลเราสามารถสร้างกำลังไฟฟ้าขนาดนี้ได้อย่างสบาย แต่ว่าถ้าเป็นเหตุฉุกเฉินภายนอกโรงพยาบาล จะหากำลังไฟฟ้ามากมายขนาดนี้จากไหน เพราะ แบตเตอรี่รถยนต์อย่างเดียวไม่สามารถจ่ายกำลังไฟฟ้ามากขนาดนี้ได้ อ่านต่อครับ
|
|
|
|
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: ธันวาคม 08, 2008, 11:08:14 pm » |
|
กระผมนายสุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็กต่อเนื่อง sec 19 รหัส 115130461120-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 ธันวาคม 2551 เวลา 23.11 น. ที่บ้านพักช้างขุนเทียน
หลักการเพิ่มแรงดันไฟ เพื่อใช้กับการกระตุ้นหัวใจนี้ จะใช้การเหนี่ยวนำของขดลวดร่วมกับวงจรทวีคูณแรงเคลื่อนไฟฟ้า อุปกรณ์ที่สำคัญในวงจรทวีแรงเคลื่อนไฟฟ้าคือ ตัวเก็บประจุนั่นเอง
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 04:43:12 pm » |
|
ผมนายศิวภัทร์ รัตนสมบูรณ์ รหัส 115330411024-6 เลขที่ 18 sec.4 วิศวกรรมโยธา วันที่ 26/11/53 เวลา 4.42 pm ที่หอลากูลแมนชั่น เราจะใช้ตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ความสามารถในการเก็บกักพลังงานไฟฟ้าสำหรับเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็ก จะใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5,000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอร์รี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุ ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม
|
|
|
|
Chantana
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 06:04:21 pm » |
|
นางสาวฉันทนา ไกรสินธุ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา สถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 41 รหัส 115310903002-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26/11/2553 เวลา18:03 สถานที่ หอในตึก 3 อ่านแล้วสรุปได้ว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
|
|
|
|
ศราวุธ พูลทรัพย์
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 08:04:48 pm » |
|
นายศราวุธ พูลทรัพย์ 115330411042-8 sec.04 เลขที่ 35 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ตอบกระทู้ที่หอลากูล วันที่ 26/11/2553 เวลา 20.04น. เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เมื่อหัวใจของคนเราใกล้จะหยุดเต้นนักวิทยาศาสตร์ได้คิดค้นวิธีการกระตุ้นหัวใจ โดยใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าเป็นกระแสเพื่อช็อตให้กล้ามเนื้อของหวัใจกลับสู่สภาวะการเต้นในระดับปกติโดยเรว เครื่องที่ใช้ กินกระแสไฟ 20 แอม ไห้งพลังงาน200จูล ในเวลา0.002วินาที ถ้าใช้ในโรงพยาบาลก็ไม่มีปัญหาในการสร้างกระแสไฟฟ้าดังกล่าว แต่ถ้าเป็นรถพยาบาลลำพังแค่หม้อแบตเตอร์รี่รถยนต์อย่างเดียวคงทำได้ยาก เพราะฉนั้นจึงต้องมีตัวเก็บแรงดันของประจุเพื่อปดปล่อยกระแสออกมาให้ได้กระไฟฟ้าตามที่ต้องการ
|
|
|
|
vutmte50
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 09:29:25 pm » |
|
นายคฑาวุธ ทองเสริม 115011113005-2 sec.02 เลขที่ 75 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ตอบกระทู้ที่หอกิตติพงศ์ วันที่ 26/11/2553 เวลา 21.30 น. เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เมื่อหัวใจของคนเราใกล้จะหยุดเต้นนักวิทยาศาสตร์ได้คิดค้น วิธีการกระตุ้นหัวใจ โดยใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าเป็นกระแสเพื่อช็อตให้กล้ามเนื้อของหวัใจกลับสู่ สภาวะการเต้นในระดับปกติโดยเรว เครื่องที่ใช้ กินกระแสไฟ 20 แอม ไห้งพลังงาน200จูล ในเวลา0.002วินาที ถ้าใช้ในโรงพยาบาลก็ไม่มีปัญหาในการสร้างกระแสไฟฟ้าดังกล่าว แต่ถ้าเป็นรถพยาบาลลำพังแค่หม้อแบตเตอร์รี่รถยนต์อย่างเดียวคงทำได้ยาก เพราะฉนั้นจึงต้องมีตัวเก็บแรงดันของประจุเพื่อปดปล่อยกระแสออกมาให้ได้กระ ไฟฟ้าตามที่ต้องการ
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: พฤศจิกายน 26, 2010, 11:14:56 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 26/11/53 เวลา 23.02 น. สถานที่ บ้านตัวเอง สรุปได้ดังนี้ ขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับ ถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
bobo
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 12:08:18 pm » |
|
นางสาวสุนิสา หมอยาดี นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา สถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 68 รหัส 115310903055-7 วันที่ 27/11/2553 เวลา12.07สถานที่ บ้าน เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว
|
|
|
|
kitima
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 01:15:20 pm » |
|
นางสาวกิติมา รัตโนทัย ID :: 115110903001-5 No. 13 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 27 พ.ย. 53 เวลา 13.15 ณ.หอ zoom สรุปได้ว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 02:37:54 pm » |
|
กระผมนายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441213-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 27 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.37 น ความคิดเห็นว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 04:03:58 pm » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล sec 02 รหัส 1153109030102 สาขาสถิติประยุกต์ วันที่ 27/11/53 เวลา 15.59 ณ หอใน ตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้เมื่เราต้องการใช้ก็นำประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุออกมาโดยใช้วงจร อิเล็กทรอนิกสร้างเเรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5000 โวลด์ โดยใช้ไฟจากเเบตเตอรี่ เเละต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็มตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 06:12:20 pm » |
|
น.ส นิติการณ์ รัตนบุรี เลขที่ 65 sec 02 รหัส 115310903052-4 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 27/11/53 เวลา 18.08 น. สถานที่ Banoffee สรุปได้ดังนี้ ขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับ ถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 08:48:31 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452022-4 เลขที่ 31
ตอบกระทู้ เมื่อ 27 พ.ย 53 เวลา 20.48 น. ที่ หอพัก
เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจน เต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวด เร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 08:51:51 pm » |
|
นางสาวณัฐพร พิศนุ เลขที่ 14 sce 02 รหัส 115110903030-4 ตอบวันที่ 27/11/2553 เวลา 20.51 น. ณ หอ ZOOM สรุปได้ว่า ขณะที่หัวใจของคนไข้ใกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจจะไม่สามารถปั๊มเลือดไปเลี้ยงสมองและกล้ามเนื้อได้ทัน ถ้าไม่รีบทำให้หัวใจเต้น คนไข้จะต้องเสียชีวิตค่อนข้างแน่นอน เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้น กินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูลในเวลา เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้น กินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูลในเวลา
|
|
|
|
Eakachai_ie
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2010, 09:16:24 pm » |
|
นาย เอกชัย สงวนศักดิ์ 115040441086-4 sec.02 เลขที่ 74 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ตอบกระทู้ที่หอมาลีแมนชัน วันที่ 27/11/2553 เวลา 21.13น. เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เมื่อหัวใจของคนเราใกล้จะหยุดเต้นนักวิทยาศาสตร์ได้คิดค้นวิธีการกระตุ้นหัวใจ โดยใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าเป็นกระแสเพื่อช็อตให้กล้ามเนื้อของหวัใจกลับสู่สภาวะการเต้นในระดับปกติโดยเรว เครื่องที่ใช้ กินกระแสไฟ 20 แอม ไห้งพลังงาน200จูล ในเวลา0.002วินาที ถ้าใช้ในโรงพยาบาลก็ไม่มีปัญหาในการสร้างกระแสไฟฟ้าดังกล่าว แต่ถ้าเป็นรถพยาบาลลำพังแค่หม้อแบตเตอร์รี่รถยนต์อย่างเดียวคงทำได้ยาก เพราะฉนั้นจึงต้องมีตัวเก็บแรงดันของประจุเพื่อปดปล่อยกระแสออกมาให้ได้กระไฟฟ้าตามที่ต้องการ
|
|
|
|
Utchima
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 10:04:46 am » |
|
นางสาวอัจจิมา แขกสะอาดSec.02 รหัสนักศึกษา 115110905096-3 เลขที่ 75 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ตอบกระทู้เมื่อ 28/11/53 ที่ วิทยบริการ เวลา9.30 การกระตุ้นหัวใจ ใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าเป็นกระแสเพื่อช็อตให้กล้ามเนื้อของหวัใจกลับสู่สภาวะการเต้นในระดับปกติโดยเร็ว เครื่องที่ใช้ กินกระแสไฟ 20 แอมป์ ให้พลังงาน200จูล ในเวลา0.002วินาที ถ้าใช้ในโรงพยาบาลก็ไม่มีปัญหาในการสร้างกระแสไฟฟ้าดังกล่าว แต่ถ้าเป็นรถพยาบาลลำพังแค่หม้อแบตเตอร์รี่รถยนต์อย่างเดียวคงทำได้ยาก เพราะฉนั้นจึงต้องมีตัวเก็บแรงดันของประจุเพื่อปดปล่อยกระแสออกมาให้ได้กระไฟฟ้าตามที่ต้องการ 
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 12:45:18 pm » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง sec02นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัส115310903046-6 เลขที่ 60 ตอบกระทู้วันที่ 28/11/53 เวลา 12.36 สถานที่ หอใน สรุปว่า ตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือ สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ ถ้าต้องการใช้ก็นำประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุออกมา ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางไว้อยู่นอกคนไข้ เมื่อเปดสวิทซ์ให้ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุจนเต็ม จะคายประจุอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้ามาก
|
|
|
|
Penprapa
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 12:50:33 pm » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร เลขที่ 34 รหัส 115210904029-3 กลุ่ม 2 วันที่ 28 พย 53 เวลา 12.48 น. ณ วิทยะบริการ สรุปว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจ กินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูล ในเวลา 0.002 วินาที ซึ่งพลังงานบางส่วนนั้นจะสูญเสียไป มีหลักการทำงาน คือ เมื่อเปิดสวิตซ์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็ม จะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว จึงทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก
|
|
|
|
boatvivi
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 04:22:52 pm » |
|
นางสาวณัฎฐพร ชื่นสมบัติ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ sec02 เลขที่ 1 115010451027-8 เวลา 16.22น. วันที่ 28 พ.ย. 2553 ที่บ้านพักคลองสาม
ได้เข้ามาสรุปเรื่องเครื่องกระตุ้นหัวใจ
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 04:35:43 pm » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า เลขที่55 sec02 รหัส 115310903038-3 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28/11/53 เวลา 16.16น. สถานที่บ้านของตนเอง จากการอ่านสรุปได้ว่า เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้นหัวใจกินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูล ในเวลา 0.002 วินาที เพื่อช่วยชีวิตคนไข้เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวด เร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
|
|
|
|
leonado_davinci
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 04:41:57 pm » |
|
Jakrapong Mensin นายจักรพงศ์ เม่นสิน วิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411015-4 sec 4 เลขที่ 12 ตอบกระทู้วันที่ 28/11/53 เวลา 4.40 pm ที่ห้องสมุด มทร..... ขณะที่หัวใจใกล้ะจะยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว เลือดจะไม่ถูกส่งไปเลี้ยงยังสมอง ถ้าไม่รบทำให้หัวใจเต้นจะต้องเสียชีวิต ต้องทำการกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจให้กลับเข้าสู่จังหวะการเต้นในระดับปรกติโดยเร็ว เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้นกินกระแสไฟฟ้า 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูล ในเวลา 0.002 วินาทีหรือให้กำลังไฟฟ้าถึง 100 กิโลวัตต์ ในโรงพยาบาลสามารถทำได้ แต่รถฉุกเฉินจะหากำลังมากขนาดนี้ จากแบตเตอรี่รถยนต์อย่างเดียวไม่สามารถจ่ายกำลังไฟขนาดนี้ได้ ตัวเก็บประจุไฟฟ้ามีคุณสมบัติคล้ายถังน้ำ คือสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ ความสามารถในการเก็บประจุไฟฟ้าสำหรับใช้ในเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็ก โดยการใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5000 โวลต์ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุ ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางบนอกคนไข้เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟครบวงจรตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็วทำไห้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก เพื่อให้ได้ความจุไฟฟ้าที่ต้องการ ลักษณะการต่อตัวเก็บประจุมีอยู่ 2 แบบ 1.การต่อแบบขนาน ทำให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วของตัวเก็บประจุแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน 2.การต่อแบบอนุกรม ทำให้ประจุบนตัวเก็บประจุแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน เมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าพลังงานเคมีในเซลล์ไฟฟ้าทำให้ประจุไปสะสมที่แผ่นของตัวเก็บประจุ เราเรียกว่าการให้หรือการอัดประจุไฟฟ้า (charge) แก่ตัวเก็บประจุ พลังงานที่เปลี่ยนไปจะกลายเป็นพลังงานไฟฟ้าที่สะสมไว้ที่ตัวเก็บประจุ พลังงานที่ถูกปล่อยออกมาขณะที่ตัวเก็บประจุคายประจุ (discharge)
|
|
|
|
kambio
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 06:21:56 pm » |
|
นางสาว นันทวัน มีชำนาญ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา ชีววิทยา sec. 02 เลขที่ 37 รหัส 115210904052-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พ.ย. 2553 สถานที่ บ้าน เวลา 18.20 น.
สรุปว่า ตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ ความสามารถในการเก็บกักพลังงานไฟฟ้าสำหรับเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็ก จะใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5,000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอร์รี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุ ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม หลักการทำงาน คือ เมื่อเปิดสวิตซ์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็ม จะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว จึงทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 06:49:45 pm » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส115330411016-2 เลขที่13 กลุ่ม53341cve sec 04 อาจารย์ผู้สอน จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28/11/2553 เวลา18.49 น. ที่หอพักspcondo ไดมีข้อคิดเห็นว่า ในการทำงานของเครื่องกระตุ้นหัวใจนั้นต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าที่มากเพื่อจะใ้ห้ใช้ในการกระตุ้นหัวใจได้ ในการใช้งานนั้มีหลายกรณทั้งในโรงพยาบาลและภายนอกโรงพยาบาลเนื่องในกรณีฉุกเฉินดังนั้นในการทำงานที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงในกรณีมฃที่อยู่ในโรงพระยาบาลนั้นไม่มีปัญหาเนื่องจากมีไฟฟ้าใช้อยู่แล้วแต่กรณีฉุกเฉินที่ต้องใช้ภายนอกนั้นมีปัญหาเนื่องจากกำลังไฟฟ้าของแบตเตอรี่นั้นไม่เพียงพอดั้งนั้นจึงได้มีการสร้างวงจรอิเล็คทรอนิคเพื่อใช้ในการสร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5000 โวลต์โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่แล้วก็จะต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุจนเ็ต็มเมื่อใช้งานเครื่องกระตุ้น ตัวเก็บประจุก็จะทำการคายพลังงานออกมาเพื่อให้สามารถใช้งานเครื่องกระตุ้นได้
|
|
|
|
crowfinky
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 09:07:35 pm » |
|
กระผมนาย สุริยะ ชีวันพิศาลนุกูล นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441225-3 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 21.04 น ความคิดเห็นว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
nontapun
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 09:38:53 pm » |
|
กระผมนายนนทพันธ์ เสนาฤทธิ์ รหัส115330441217-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 21.40 น ความคิดเห็นว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
Narumol
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 10:03:23 pm » |
|
น.ส.นฤมล กำลังฟู Sec.2 No.20 รหัส115210417031-9 ในขณะที่กระแสไฟฟ้าสามารถทำให้หัวใจหยุดเต้น เราก็สามารถเอากระแส ไฟฟ้ามาทำให้หัวใจของคนไข้ที่หยุดเต้นกลับมาเต้นใหม่ได้ หลักการของเครื่องกระตุ้นหัวใจมีอยู่นิดเดียว.......คือมันจะปล่อยกระแส ไฟฟ้าเข้าไปจัดระเบียบสังคม....เอ๊ย....จัดระเบียบการหดตัวของเซลกล้ามเนื้อ หัวใจทุกเซลใหม่ ให้ทุกเซลหดตัวพร้อมๆกันอย่างมีระเบียบและเป็นจังหวะสม่ำเสมอ....
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: พฤศจิกายน 28, 2010, 10:31:26 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เลขที่ 49 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 22.31 น ความคิดเห็นว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
Benjawan Onnual
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 10:52:49 am » |
|
นางสาวเบญจวรรณ อ่อนนวล เลขที่ 49 sec 02 รหัส 1153109030326 สาขาวิชาสถิติประยุกต์ ตอบกระทู้เมื่อ 29/11/2553 เวลา 10.52 น. ณ หอพักนำรงค์แมนชัน สรุปได้ว่า จะใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5000 โวล์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุ ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม นำไปวางไว้บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิซ ตัวเก็บประจุที่เก็บไว้จนเต้มจะคายปนะจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็วพลังงานจะสูญเสียไปเหลือ 200 จูลเท่านั้นที่จะถูกส่งไปยังคนไข้
|
|
|
|
mukkie
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 11:59:02 am » |
|
นางสาวปาณิศา ไพรสยม นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา สถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 67 รหัส 115310903054-0เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29/11/2553 เวลา11.54น.สถานที่ ห้องสมุดคณะอ่านแล้วสรุปได้ว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
|
|
|
|
ratthasart
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: พฤศจิกายน 29, 2010, 05:23:04 pm » |
|
ผมนายรัฐศาสตร์ ไชยโส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115330441218-8 sec.4 เลขที่ 61 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553 เวลา 17.21 น สถานที่ ห้องพัก ความคิดเห็นว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่หัวใจของคนไข้ไกล้จะหยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว หัวใจไม่สามารถปั่มเลือดไปเลี้ยงสมองได้ เครื่องปั่มหัวใจ จะมีตัวเก็บประจุมีคุณสมบัติคล้ายกับถังน้ำ คือมันสามารถเก้บประจุไฟฟ้าได้ เมื่อเราต้องการใช้ก้อนำประจุไฟฟ้าออกมา ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางอยู่บนอกของคนไข้ เมื่อเปิดสวิตย์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุ จะคล้ายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็ว ทำไห้ได้ไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก
|
|
|
|
|