กุมภาพันธ์ 28, 2021, 04:52:16 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
ฟิสิกส์ 2
>
ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
>
เครื่องกระตุ้นหัวใจ
หน้า:
1
...
4
5
[
6
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: เครื่องกระตุ้นหัวใจ (อ่าน 14162 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
sarayut
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 131
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #150 เมื่อ:
ธันวาคม 12, 2010, 11:16:41 am »
นายศรายุทธ เที่ยงแท้ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411001-4 sec 4 เลขที่ 1 ตอบกระทู้วันที่ 29/11/53 เวลา 11.17 pm
ขณะที่หัวใจใกล้ะจะยุดเต้น หรือหยุดเต้นไปแล้ว เลือดจะไม่ถูกส่งไปเลี้ยงยังสมอง ถ้าไม่รบทำให้หัวใจเต้นจะต้องเสียชีวิต ต้องทำการกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจให้กลับเข้าสู่จังหวะการเต้นในระดับปรกติโดยเร็ว เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้นกินกระแสไฟฟ้า 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูล ในเวลา 0.002 วินาทีหรือให้กำลังไฟฟ้าถึง 100 กิโลวัตต์ ในโรงพยาบาลสามารถทำได้ แต่รถฉุกเฉินจะหากำลังมากขนาดนี้ จากแบตเตอรี่รถยนต์อย่างเดียวไม่สามารถจ่ายกำลังไฟขนาดนี้ได้
ตัวเก็บประจุไฟฟ้ามีคุณสมบัติคล้ายถังน้ำ คือสามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ ความสามารถในการเก็บประจุไฟฟ้าสำหรับใช้ในเครื่องกระตุ้นหัวใจขนาดเล็ก โดยการใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 5000 โวลต์ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุ ซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม
ตัวกระตุ้นหัวใจทำจากตะกั่ว นำไปวางบนอกคนไข้เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟครบวงจรตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุ้นอย่างรวดเร็วทำไห้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก
เพื่อให้ได้ความจุไฟฟ้าที่ต้องการ ลักษณะการต่อตัวเก็บประจุมีอยู่ 2 แบบ
1.การต่อแบบขนาน ทำให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วของตัวเก็บประจุแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน
2.การต่อแบบอนุกรม ทำให้ประจุบนตัวเก็บประจุแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน
เมื่อต่อตัวเก็บประจุเข้ากับเซลล์ไฟฟ้าพลังงานเคมีในเซลล์ไฟฟ้าทำให้ประจุไปสะสมที่แผ่นของตัวเก็บประจุ เราเรียกว่าการให้หรือการอัดประจุไฟฟ้า (charge) แก่ตัวเก็บประจุ พลังงานที่เปลี่ยนไปจะกลายเป็นพลังงานไฟฟ้าที่สะสมไว้ที่ตัวเก็บประจุ พลังงานที่ถูกปล่อยออกมาขณะที่ตัวเก็บประจุคายประจุ (discharge)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
aek cve rmutt
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 124
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #151 เมื่อ:
ธันวาคม 15, 2010, 08:04:36 pm »
ผมนายเอกชัย เสียงล้ำ นักศึกษาวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง sec 4 รหัส 115330411046-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่
15 ธันวาคม 2553 เวลา 20.06 น. ณ หอโฟบี 5
อ่านแล้วสรุปได้ว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
sodiss
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 110
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #152 เมื่อ:
ธันวาคม 15, 2010, 09:53:47 pm »
นายธรรมนันท์ เหมือนทิพย์ รหัส115210441248-9 sec.02 เลขที่ 27 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 15/12/53 เวลา 21.53 น.
ที่ หอบ้านดวงพร
อ่านแล้วสรุปได้ว่า เครื่องกระตุ้นหัวใจใช้แรงดันไฟฟ้ามีขนาด 5000 โวลต์ โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่ และต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุซึ่งจะอัดประจุไฟฟ้าเข้าไปในตัวเก็บประจุจนเต็ม เมื่อเปิดสวิทซ์ไฟฟ้าครบวงจร ตัวเก็บประจุที่เก็บประจุไว้จนเต็มจะคายประจุออกไปที่ตัวกระตุนอย่างรวดเร็ว ทำให้ได้กำลังไฟฟ้าจำนวนมาก ตอนที่ใช้เครื่องช่วยชีวิตจะเห็นคนไข้กระตุกขึ้นมา นั่นคือตอนที่กำลังถูกไฟฟ้ากระตุ้น
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
Kitti_CVE2
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 117
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #153 เมื่อ:
มกราคม 07, 2011, 10:56:39 am »
นาย กิตติ จิตนันทกุล นักศึกษาคณะ วิศวกรรมโยธา
sec 17 เลขที่ 8 รหัสประจำตัว 115340411113-6
เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา
ตอบเมื่อวันที่ 07/01/54 เวลา 10.52 น. ณ.ที่ทำงาน
จากเนื้อหาสรุปได้ว่า ในการทำงานของเครื่องกระตุ้นหัวใจนั้นต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าที่มากเพื่อจะใ้ห้ใช้ในการกระตุ้นหัวใจได้ ในการใช้งานนั้มีหลายกรณทั้งในโรงพยาบาลและภายนอกโรงพยาบาลเนื่องในกรณีฉุกเฉินดังนั้นในการทำงานที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูงในกรณีมฃที่อยู่ในโรงพระยาบาลนั้นไม่มีปัญหาเนื่องจากมีไฟฟ้าใช้อยู่แล้วแต่กรณีฉุกเฉินที่ต้องใช้ภายนอกนั้นมีปัญหาเนื่องจากกำลังไฟฟ้าของแบตเตอรี่นั้นไม่เพียงพอดั้งนั้นจึงได้มีการสร้างวงจรอิเล็คทรอนิคเพื่อใช้ในการสร้างแรงดันไฟฟ้าให้มีขนาด 1000 โวลต์โดยใช้ไฟจากแบตเตอรี่แล้วก็จะต่อไฟสูงเข้ากับตัวเก็บประจุจนเ็ต็มเมื่อใช้งานเครื่องกระตุ้น ตัวเก็บประจุก็จะทำการคายประจุออกมาที่เครื่องกระตุ้นอย่างรวดเร็ว
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
sirilakCVE2
มือโปรขยันโพส
ออฟไลน์
กระทู้: 30
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #154 เมื่อ:
มกราคม 08, 2011, 11:08:29 pm »
น.ส.ศิริลักษณ์ ถนอมพิชัย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา SEC 17 รหัส 115340411118-5 เลขที่ 11 อาจารย์ผู้สอน อ.จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้เมื่อ 8/1/2554
เวลา 11.06.03 PM.สถานที่ สวนสุทธิพันธ์ จ.ปทุมธานี
สรุปเนื้อหาได้ดังนี้
ในขณะที่หัวใจของคนไข้ใกล้จะหยุดเต้นหรือหยุดเต้นไปแล้วนั้น หัวใจจะไม่สามารถปั๊มเลือดไปเลี้ยงสมองและกล้ามเนื้อได้ทัน ถ้าไม่รีบทำให้หัวใจเต้นคนไข้จะต้องเสียชีวิตค่อนข้างแน่นอน เพื่อจะช่วยชีวิตคนไข้ประเภทนี้จะต้องกระตุ้นกล้ามเนื้อหัวใจให้กลับเข้าสู่จังหวะการเต้นในระดับปกติโดยเร็ว เครื่องมือที่ใช้ในการกระตุ้น กินกระแสไฟถึง 20 แอมป์ ให้พลังงาน 200 จูลในเวลา 0.002 วินาที หรือให้กำลังไฟฟ้าถึง 100 กิโลวัตต์ ในโรงพยาบาลเราสามารถสร้างกำลังไฟฟ้าขนาดนี้ได้อย่างสบาย
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
watit
อภิมหาเทพ
ออฟไลน์
กระทู้: 89
Re: เครื่องกระตุ้นหัวใจ
«
ตอบ #155 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:33:38 pm »
กระผมชื่อนายวาทิต บุพศิริ นักศึกษา CVE2 สมทม SEC 17 รหัส 115340411106-0
เข้ามาตอบเมื่อ 5/02 /2011 เวลา 1.30 ที่บ้าน
ทีบ้เมื่อหัวใจของคนเราใกล้จะหยุดเต้นนักวิทยาศาสตร์ได้คิดค้น วิธีการกระตุ้นหัวใจ โดยใช้ประโยชน์จากไฟฟ้าเป็นกระแสเพื่อช็อตให้กล้ามเนื้อของหวัใจกลับสู่ สภาวะการเต้นในระดับปกติโดยเรว เครื่องที่ใช้ กินกระแสไฟ 20 แอม ไห้งพลังงาน200จูล ในเวลา0.002วินาที ถ้าใช้ในโรงพยาบาลก็ไม่มีปัญหาในการสร้างกระแสไฟฟ้าดังกล่าว แต่ถ้าเป็นรถพยาบาลลำพังแค่หม้อแบตเตอร์รี่รถยนต์อย่างเดียวคงทำได้ยาก เพราะฉนั้นจึงต้องมีตัวเก็บแรงดันของประจุเพื่อปดปล่อยกระแสออกมาให้ได้กระ ไฟฟ้าตามที่ต้องการ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
...
4
5
[
6
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...