00sunisa00
|
 |
« ตอบ #90 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:01:01 pm » |
|
น.ส.สุนิศา ชมมิ sec2 เลขที่ 40 115310903001-1 สาขาวิชาสถิติประยุกต์ วัน 2/12/53 เวลา 14.00 ที่ ห้องสมุด
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
ronachai
|
 |
« ตอบ #91 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:01:50 pm » |
|
ผม นาย รณชัย รุกขวัฒน์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411002-2 sce 4 กะทู้เมื่อ วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เวลา 14.02 น. ณหอพัก เครื่องตะบันน้ำกับตัวเก็บประจุไฟฟ้า มีกระบวนการทำงานที่คล้ายกัน คือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม กล่าวคือ น้ำจะอัดอากาศภายในปั๊มให้มีความดันสูงขึ้นส่วนขั้นตอนการคายประจุคล้ายกับไฮดรอลิกปั๊ม คือ อากาศที่ถูกอัดภายในจะดัน้ำพุ่งออกจากปั๊มด้วยความแรงที่มากกว่าตอนไหลเข้า
|
|
|
|
Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #92 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:22:47 pm » |
|
นายธาตรี ศรีสวัสดิ์ คณะวิทยาศาสร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ รหัส115310906029-9 เลขที่71 เวลา14.22น. วันที่2/12/2553 สถานที่banoffee sec02 สรุป เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
Survivor666
|
 |
« ตอบ #93 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:24:14 pm » |
|
นายสร้างสรรค์ วงศ์ฉลาด รหัสนักศึกษา 115110905018-7 sec 02 ตอบกระทู้เมื่อ 02/12/53 เวลา14.25 หออยู่เจริญแมนชั่น เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์ว น้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ
|
|
|
|
namtan
|
 |
« ตอบ #94 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 02:34:04 pm » |
|
ดิฉัน นางสาวณัชชา ธิติบุญจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอาหาร sec02 รหัสประจำตัว115210417055-8 เลขที่ 21 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่หอพักโอนิน3 เวลา 14.34น. ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ การทำงานของตัวเก็บประจุ มีสภาวะการทำงานอยู่ 2 สภาวะ คือ การเก็บประจุ(Charge) และการคายประจุ(Discharge) การทำงานของเครื่องตะบันน้ำ ทำงานได้โดยอาศัยกำลังงานจากการไหลของน้ำ ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำ และจะปั๊มน้ำบางส่วนให้ขึ้นไปยังที่สูงๆได้
|
|
|
|
sarayut sringam
|
 |
« ตอบ #95 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 03:07:58 pm » |
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.07น มีความคิดเห็นว่า เครื่องตะบันน้ำ Hydraulic Ram Pump ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำและจะปั๊มน้ำบางส่วน (อัตราการไหลต่ำ) ให้ขึ้นไปยังที่สูง ๆ ได้ Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ ตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักทั่วไปว่าสามารถเก็บประจุได้ บางทีเรียกว่า คาปาซิเตอร์ ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า C มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) ชนิดตัวเก็บประจุ 1.ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ 2.ตัวเก็บประจุชนิดปรับค่าได้
ปัจจัยที่มีผลต่อตัวเก็บประจุ ค่าการเก็บประจุจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ 1. พื้นที่ของแผ่นเพลต 2. ระยะห่างระหว่างแผ่นเพลต 3. ชนิดของไดอิเล็กตริก ตัวเก็บประจุมีสภาวะการทำงานอยู่ 2 สภาวะคือ ประจุ (Charge)และ คายประจุ (Discharge)
|
|
|
|
assadawut
|
 |
« ตอบ #96 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 03:10:40 pm » |
|
นาย อัษฎาวุฒิ ลำพา นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441202-2 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ บ้าน เวลา 15.10น ความคิดเห็นว่า Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น (Waste Valve) เปิด และวาล์วส่ง (Delivery Valve) ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 1 กับ 2 ของไฮดรอลิกปั๊ม กล่าวคือ น้ำจะอัดอากาศภายในปั๊มให้มีความดันสูงขึ้น ส่วนขั้นตอนการคายประจุคล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 3 และ 4 กล่าวคือ อากาศที่ถูกอัดภายในจะดันน้ำให้พุ่งออกจากปั๊มด้วยความแรงที่มากกว่าตอนไหลเข้า การเปรียบเทียบนี้อาจมองเห็นไม่ชัดเจน แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับวงจรไฟแฟลซของกล้องถ่ายรูป สามารถเห็นได้ชัดเจนยิ่งกว่า
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #97 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 03:50:47 pm » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 11310903036-7 เลขที่ 53 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 2 ธ.ค 53 เวลา 15.50น. สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือการอัดประจุของตัวเก็บประจุคล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
Suphakorn
|
 |
« ตอบ #98 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 04:16:42 pm » |
|
กระผมนาย สุภากร หงษ์โต นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441211-3 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เวลา 16.16 น. ที่หอพัก gooddream มีความคิดเห็นว่า เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการ เก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกิริยาทางเคมีการทำงานจะ เริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิด การปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
KanitaSS
|
 |
« ตอบ #99 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 04:27:12 pm » |
|
นางสาวคณิตา สุดจิตร์ นศ.คณะวิทยาศาสตร์ สาขาสถิติประยุกต์ Sec2 เลขที่45รหัส115310903030-0 ตอบกระทู้วันที่2/12/53 เวลา16.25สถานที่ บาน็อฟฟี่ ตอบเครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์ว น้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #100 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 05:31:55 pm » |
|
กระผมนายรัตชานนท์ ทับทอง นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 17.31 น เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือการอัดประจุของตัวเก็บประจุคล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
Nattawut
|
 |
« ตอบ #101 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 05:44:11 pm » |
|
กระผมนาย ณัฐวุฒิ ชูพินิจ นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441214-7 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เวลา 17.44 น. ที่ร้านเน็ต มีความคิดเห็นว่า เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการ เก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกิริยาทางเคมีการทำงานจะ เริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิด การปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
alongkorn hunbuathong
|
 |
« ตอบ #102 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:05:01 pm » |
|
นายอลงกรณื หุ่นบัวทอง สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411026-1 เลขที่ 20 กลุ่ม 53341cve sec04 เลขที่ 20 วันที่ 2/12/2553 เวลา 18.05 ณ บ้านบางชันวิลล่า เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าจนเต็มแล้วจึงทำการปล่อยหรือคายประจุออกมาเมื่อวาล์วเปิดหรือต่อขั้วไฟฟ้า หลักการที่คล้ายกันคือ ในการเก็บประจุนั้นจะทำการเก็บประจุโดยที่อิเล็กตรอนนั้นในขั้นตอนเก็บก็ทำการเก็บเรื่อยๆๆจนเต็ม แล้วเมื่อทำการปล่อยประจุไฟออกมาแล้วเมื่อเราจะต้องใช้อีกประจุจะสามารถจ่ายไฟให้ได้ก็ต่อเมื่อเก็บประจุจนเต็มก่อน ส่วนในการทำงานของปั้มนำ้ก็ทำคล้ายๆกันในการเก็บน้ำเข้ามาจนเต็มปั้มน้ำเเล้วทำให้เกิดแรวดันที่มากจนทำให้วาว์วของปั้มน้ำเปิดออกน้ำก็ไหลออกจากปั้มน้ำ
|
|
|
|
surachet
|
 |
« ตอบ #103 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:05:20 pm » |
|
กระผมนายสุรเชฐ กัญจนชุมาบุรพ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441210-5 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2 ธ.ค 2553 ที่ บ้าน เวลา 18.05 ความคิดเห็นว่า Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น (Waste Valve) เปิด และวาล์วส่ง (Delivery Valve) ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 1 กับ 2 ของไฮดรอลิกปั๊ม กล่าวคือ น้ำจะอัดอากาศภายในปั๊มให้มีความดันสูงขึ้น ส่วนขั้นตอนการคายประจุคล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 3 และ 4 กล่าวคือ อากาศที่ถูกอัดภายในจะดันน้ำให้พุ่งออกจากปั๊มด้วยความแรงที่มากกว่าตอนไหลเข้า การเปรียบเทียบนี้อาจมองเห็นไม่ชัดเจน แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับวงจรไฟแฟลซของกล้องถ่ายรูป สามารถเห็นได้ชัดเจนยิ่งกว่า
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #104 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:09:51 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร รหัส 115330411036-0 วิศวกรรมโยธา เวลา 06.09 pm. วันที่ 2 ธ.ค. 53 สถานที่ หอร์ โฟร์บี 2
เครื่องตะบันน้ำ Hydraulic Ram Pump ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำและจะปั๊มน้ำบางส่วน (อัตราการไหลต่ำ) ให้ขึ้นไปยังที่สูง ๆ ได้ Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ ตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักทั่วไปว่าสามารถเก็บประจุได้ บางทีเรียกว่า คาปาซิเตอร์ ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า C มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) ชนิดตัวเก็บประจุ 1.ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ 2.ตัวเก็บประจุชนิดปรับค่าได้
ปัจจัยที่มีผลต่อตัวเก็บประจุ ค่าการเก็บประจุจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ 1. พื้นที่ของแผ่นเพลต 2. ระยะห่างระหว่างแผ่นเพลต 3. ชนิดของไดอิเล็กตริก ตัวเก็บประจุมีสภาวะการทำงานอยู่ 2 สภาวะคือ ประจุ (Charge)และ คายประจุ (Discharge)
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #105 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:55:10 pm » |
|
นาย ทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี รหัส 115330411008-9 วิศวกรรมโยธา sec.04 เวลา 18.56 การทำงานของตัวเก็บประจุ มีสภาวะการทำงานอยู่ 2 สภาวะ คือ การเก็บประจุ(Charge) และการคายประจุ(Discharge) การทำงานของเครื่องตะบันน้ำ ทำงานได้โดยอาศัยกำลังงานจากการไหลของน้ำ ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำ และจะปั๊มน้ำบางส่วนให้ขึ้นไปยังที่สูงๆได้
|
|
|
|
oOGIG...k}
|
 |
« ตอบ #106 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 06:56:21 pm » |
|
นายชำนาญกิจ ศิริยานนท์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ sec04 เลขที่ 4 รหัส 115330411004-8 วันที่ 2 /12/2553 เวลา 06:55:23 pm สถานที่ เศรษฐบุตร
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการ เก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิด การปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #107 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:06:43 pm » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา รหัส 115330411011-3 sec.4 วิศวกรรมโยธา
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
pollavat
|
 |
« ตอบ #108 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 07:52:01 pm » |
|
นายพลวัฒน์ คำกุณา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม เวลา 19.52 น. ที่หอพักzoom เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการ เก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกิริยาทางเคมีการทำงานจะ เริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิด การปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
potchapon031
|
 |
« ตอบ #109 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 08:27:53 pm » |
|
นายภชพน เกตุวงศ์ รหัส 115330411031-1 เลขที่ 25 วิศวกรรมโยธา sec.4 สถานที่ กิตติพงศ์ แมนชั่น Hydraulic Ram Pump มีชื่อเรียกอื่นๆ ว่า เครื่องตะบันน้ำซึ่งเป็นปั๊มน้ำที่ทำงานได้โดยอาศัยกำลังงานจากการไหลของน้ำ ปั๊มชนิดนี้ เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่อัตราการไหลสูงแต่ความดันต่ำและจะปั๊มน้ำบางส่วนให้ขึ้นไปยังที่สูงๆได้ เป็นปั๊มที่ทำงานอัตโนมัติ เพียงแต่ตอนเริ่ม ทำงานจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานซะก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฎการณ์อย่างหนึ่งเรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำ ขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บน้ำตามที่ต้องการ ตัวเก็บประจุชนิดพลาสติก แต่จะใช้อิเล็กตริก เป็นแผ่นฟิล์มที่ทำมาจากโพลีเอสเตอร์ ไมลาร์ โพลีสไตรีน อื่นๆ โดยนำมาคั่นระหว่างเพลตทั้งสองแผ่น
|
|
|
|
Thamanoon
|
 |
« ตอบ #110 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 08:50:43 pm » |
|
ผมนายธรรมนูญ พุทธวงษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรม สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411009-7 เลขที่ 9 เรียนกับ อ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ ที่ บ้านเช่า ซอยอีสเทิร์น เวลา 20.50 น. มีความเห็นว่า Hydraulic Ram Pump มีชื่อเรียกอื่นๆ อีก เช่น เครื่องตะบันน้ำ ซึ่งเป็นปั๊มน้ำที่ทำงานได้โดยอาศัยกำลังงานจากการไหลของน้ำ ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำและจะปั๊มน้ำบางส่วน (อัตราการไหลต่ำ) ให้ขึ้นไปยังที่สูง ๆ ได้ Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้
|
|
|
|
titikron
|
 |
« ตอบ #111 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 08:51:51 pm » |
|
นาย ฐิติกร แก้วประชา รหัส 115330411022-0 วิศวกรรมโยธา Sec.04 วันที่ 2ธ.ค. 2553 เวลา 08.52 pm สถานที่ หอโฟร์บี 2
Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น (Waste Valve) เปิด และวาล์วส่ง (Delivery Valve) ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 1 กับ 2 ของไฮดรอลิกปั๊ม กล่าวคือ น้ำจะอัดอากาศภายในปั๊มให้มีความดันสูงขึ้น ส่วนขั้นตอนการคายประจุคล้ายกับการทำงานในขั้นตอนที่ 3 และ 4 กล่าวคือ อากาศที่ถูกอัดภายในจะดันน้ำให้พุ่งออกจากปั๊มด้วยความแรงที่มากกว่าตอนไหลเข้า การเปรียบเทียบนี้อาจมองเห็นไม่ชัดเจน แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับวงจรไฟแฟลซของกล้องถ่ายรูป สามารถเห็นได้ชัดเจนยิ่งกว่า
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #112 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:33:47 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ รหัส 115330411051-9 เวลา 09.34 pm. วันที่ 2 ธ.ค. 53 สถานที่ หอโฟร์บี 2
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
ponyotha
|
 |
« ตอบ #113 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 09:58:13 pm » |
|
ผมนายวีรพล นุ่มน้อย รหัส 115330411014-7 เลขที่ 11 sce 4 วิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง วันที่ 02/12/53 หออยู่เจริญแมนชั่น เวลา 21.51 เครื่องตะบันน้ำกับตัวเก็บประจุไฟฟ้า มีกระบวนการทำงานที่คล้ายกัน คือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม กล่าวคือ น้ำจะอัดอากาศภายในปั๊มให้มีความดันสูงขึ้นส่วนขั้นตอนการคายประจุคล้ายกับไฮดรอลิกปั๊ม คือ อากาศที่ถูกอัดภายในจะดัน้ำพุ่งออกจากปั๊มด้วยความแรงที่มากกว่าตอนไหลเข้า
|
|
|
|
Mr.Tinnakorn
|
 |
« ตอบ #114 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 10:44:41 pm » |
|
นาย ทินกร สุพรรณสืบ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411049-3 2/12/53 เวลา 10:44Pm
Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น (Waste Valve) เปิด และวาล์วส่ง (Deli very Valve) ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ
|
|
|
|
somkid-3212
|
 |
« ตอบ #115 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 10:55:08 pm » |
|
สวัสดีครับ ผมชื่อ นาย สมคิด กุลสุวรรณ กลุม CVE 53341 รหัส 115330411033-7 เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกิริยาทางเคมีการทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
bear
|
 |
« ตอบ #116 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:08:36 pm » |
|
นาย อุดม แก้วชู คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411034-5 เลขที่ 28 sec 4
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมี การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
pisan mulchaisuk
|
 |
« ตอบ #117 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:27:10 pm » |
|
กระผมนาย ไพศาล มูลชัยสุข นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441215-4 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เวลา 23.34 น. ที่หอพักเลิศวิจิตร มีความคิดเห็นว่า เครื่องตะบันน้ำ Hydraulic Ram Pump ปั๊มชนิดนี้เหมาะสำหรับแหล่งน้ำที่มีการไหลด้วยอัตราการไหลสูง แต่ความดันต่ำและจะปั๊มน้ำบางส่วน (อัตราการไหลต่ำ) ให้ขึ้นไปยังที่สูง ๆ ได้ Hydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ ตัวเก็บประจุ ตัวเก็บประจุ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักทั่วไปว่าสามารถเก็บประจุได้ บางทีเรียกว่า คาปาซิเตอร์ ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า C มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) ชนิดตัวเก็บประจุ 1.ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ 2.ตัวเก็บประจุชนิดปรับค่าได้
ปัจจัยที่มีผลต่อตัวเก็บประจุ ค่าการเก็บประจุจะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ 1. พื้นที่ของแผ่นเพลต 2. ระยะห่างระหว่างแผ่นเพลต 3. ชนิดของไดอิเล็กตริก ตัวเก็บประจุมีสภาวะการทำงานอยู่ 2 สภาวะคือ ประจุ (Charge)และ คายประจุ (Discharge)
|
|
|
|
mypomz
|
 |
« ตอบ #118 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:42:15 pm » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 2 ธ.ค. 53 เวลา 23.43 สถานที่ ร้านshooter
เครื่องตะบันน้ำจะมีหลักการคล้ายกับตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในการเก็บกักกระแสไฟฟ้าในรูปของพลังงานทางเคมีและปฏิกริยาทางเคมีการทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น เปิด และวาล์วส่ง ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ โดยลำดับขั้นตอนการทำงานของปั๊มน้ำ หลักการที่คล้ายกันคือ การอัดประจุของตัวเก็บประจุ คล้ายกับการทำงานของไฮดรอลิกปั๊ม
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #119 เมื่อ: ธันวาคม 02, 2010, 11:50:46 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 02/12/2553 เวลา 23.50 น. สรุปได้ว่าHydraulic Ram Pump เป็นปั๊มที่ทำงานได้เองโดยอัตโนมัติ เพียงแต่ในตอนเริ่มต้นจะต้องกระตุ้นให้ Waste Valve ทำงานเสียก่อน การทำงานของปั๊มน้ำอาศัยปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่เรียกว่า Water Hammer ในการทำให้เกิดการส่งน้ำขึ้นไปตามท่อส่งสู่ถังเก็บตามที่ต้องการได้ การทำงานจะเริ่มจากน้ำจากแหล่งจ่ายซึ่งอาจเป็นลำธารน้ำ น้ำตก ไหลเข้ามาทางท่อด้านเข้า ในตอนเริ่มต้นวาล์วน้ำล้น (Waste Valve) เปิด และวาล์วส่ง (Delivery Valve) ปิดทำให้น้ำที่ไหลเข้ามาไหลออกทางวาล์วน้ำล้น การเริ่มตันทำงานของปั๊มจะเริ่มจากการที่เราต้องกระตุ้นวาล์วน้ำล้นให้เกิดการปิดเปิดเป็นจังหวะ หลังจากนั้นปั๊มน้ำจะเริ่มต้นทำงานได้ด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ
|
|
|
|
|