มกราคม 21, 2021, 10:10:01 am
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
ฟิสิกส์ 2
>
ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
>
แฟลซทำงานอย่างไร
หน้า:
1
...
4
5
[
6
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: แฟลซทำงานอย่างไร (อ่าน 16690 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Kitti_CVE2
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 117
Re: แฟลซทำงานอย่างไร
«
ตอบ #150 เมื่อ:
มกราคม 07, 2011, 11:06:36 am »
นาย กิตติ จิตนันทกุล นักศึกษาคณะ วิศวกรรมโยธา
sec 17 เลขที่ 8 รหัสประจำตัว 115340411113-6
เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา
ตอบเมื่อวันที่ 07/01/54 เวลา 11.02 น. ณ.ที่ทำงาน
แฟลซซึ่งแยกออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ คือ
1. แบตเตอรี่ ขนาดเล็กมีหน้าที่ให้พลังงานกับหลอดไฟแฟลซ
2. หลอดไฟแฟลซ ให้แสงจำนวนมากอย่างรวดเร็ว
3. วงจรไฟฟ้า ควบคุมการทำงาน
แฟลซต้องทำงานสอดคล้องกับชัตเตอร์ของกล้องถ่ายรูป คือการต่อแบตเตอรี่เข้ากับวงจรไฟฟ้า และหลอดไฟ การไหลของประจุไฟฟ้าผ่านหลอดทำให้หลอดสว่างขึ้น ภายในหลอดไฟแฟลซ บรรจุก๊าซซีนอน มีขั้วไฟฟ้าที่หลอด 2 ขั้ว และแผ่นกระตุ้น (Trigger Plate) วางไว้ข้างหลอด สวิทซ์เปิดไฟแฟลซต่อเข้ากับชัตเตอร์ เมื่อกดชัตเตอร์ ตัวเก็บประจุจะถูกเชื่อมต่อเข้ากับหม้อแปลงชุดที่สอง (secondary transformer) ซึ่งจะช่วยเพิ่มแรงดันจาก 200 โวลต์ของตัวเก็บประจุ เป็น 1000 ถึง 4000 โวลต์ และส่งแรงดันไฟฟ้านี้ไปที่แผ่นกระตุ้น ทำการกระตุ้นให้ก๊าซซีนอนเกิดการอิออไนท์ และนำไฟฟ้า เกิดแสงวาบขึ้น
เพิ่มแรงดันขึ้นต้องมีวงจรไฟฟ้าเพิ่มแรงดันของแบตเตอรี่ อุปกรณ์ประกอบด้วย
- ตัวเก็บประจุ มีหน้าที่กักเก็บพลังงานของประจุไฟฟ้าไว้ภายใน
- ตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้า มีหน้าที่กักเก็บพลังงานของสนามแม่เหล็กไว้ในขดลวด
- ไดโอด ทำขึ้นจากสารกึ่งตัวนำ มีหน้าที่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ทางเดียว
- ทรานซิสเตอร์ ทำขึ้นจากสารกึ่งตัวนำ ทำหน้าที่เหมือนสวิทซ์ และขยายสัญญาณทางไฟฟ้า
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
sirilakCVE2
มือโปรขยันโพส
ออฟไลน์
กระทู้: 30
Re: แฟลซทำงานอย่างไร
«
ตอบ #151 เมื่อ:
มกราคม 08, 2011, 11:04:58 pm »
น.ส.ศิริลักษณ์ ถนอมพิชัย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา SEC 17 รหัส 115340411118-5 เลขที่ 11 อาจารย์ผู้สอน อ.จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้เมื่อ 8/1/2554
เวลา 11.02.19 PM.สถานที่ สวนสุทธิพันธ์ จ.ปทุมธานี
สรุปเนื้อหาได้ดังนี้
แฟลซต้องทำงานสอดคล้องกับชัตเตอร์ของกล้องถ่ายรูป ซึ่งแยกเป็น3 ส่วน
1. แบตเตอร์รี่ ขนาดเล็กทำหน้าที่ให้พลังงานกับแฟลซ
2. หลอดไฟแฟลซ ให้แสงเป็นจำนวนมากอย่างรวดเร็ว
3. วงจรไฟฟ้า จะควบคุมการทำงาน
การต่อแฟลซทำได้ง่ายๆ โดยต่อกับแบตเตอรี่เข้ากับวงจรไฟฟ้า และหลอดไฟ การไหลของประจุไฟฟ้าผ่านหลอดทำให้หลอดสว่างขึ้นภายในหลอดบรรจุก๊าซซีนอน มีขั้วไฟฟ้าที่หลอด 2 ขั้วและแผ่นกระตุ้นกระแสไฟฟ้า คือการไหลของอิเล็กตรอนอิสระ ซึ่งจะไหลผ่านหลอดที่บรรจุก๊าซ จากขั้วหนึ่งไปยังอีกขั้วหนึ่ง เมื่ออิเล็กตรอนอิสระชนกับอะตอมของซีนอนทำให้อิเล็กตรอนปลดปล่อยพลังงานเป็นโปรตรอนหรือแสงออกมาเพื่อที่จะทำให้ก๊าซเป็นตัวนำที่ดี
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
watit
อภิมหาเทพ
ออฟไลน์
กระทู้: 89
Re: แฟลซทำงานอย่างไร
«
ตอบ #152 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 05, 2011, 01:38:40 pm »
กระผมชื่อนายวาทิต บุพศิริ นักศึกษา CVE2 สมทม SEC 17 รหัส 115340411106-0
เข้ามาตอบเมื่อ 5/02 /2011 เวลา1.35pm ทีบ้าน
แฟลซต้องทำงานสอดคล้องกับชัตเตอร์ของกล้องถ่ายรูป ซึ่งแยกออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ คือ
1.แบตเตอรี่ ขนาดเล็กมีหน้าที่ให้พลังงานกับหลอดไฟแฟลซ
2.หลอดไฟแฟลซ ให้แสงจำนวนมากอย่างรวดเร็ว
3.วงจรไฟฟ้า ควบคุมการทำงาน
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
...
4
5
[
6
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...