กุมภาพันธ์ 25, 2021, 12:12:57 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
ฟิสิกส์ 2
>
โครงสร้างของอะตอม
>
เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
หน้า:
1
...
3
4
[
5
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000 (อ่าน 9783 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ศราวุธ พูลทรัพย์
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 132
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #120 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 12:44:05 am »
กระผมนายศราวุธ พูลทรัพย์ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411042-8 เลขที่ 35 sec 04 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้นี้ที่หอลากูล วันที่ 11/2/2554 เวลา 00.43น.
แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
Suphakorn
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 154
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #121 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:03:31 am »
กระผมนาย สุภากร หงษ์โต นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441211-3 Sec.04
เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 07.03 น. ที่หอพัก gooddream
มีความคิดเห็นว่า
แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
pisan mulchaisuk
อภิมหาเทพ
ออฟไลน์
กระทู้: 96
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #122 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:08:00 am »
กระผมนาย ไพศาล มูลชัยสุข นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441215-4 Sec.04
เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 7.08 น. ที่หอพักเลิศวิจิตร
มีความคิดเห็นว่า
อะตอมที่ถูกกระตุ้นจะให้โฟตอนออกมา และเมื่อให้ออกมาแล้วจะกลับเข้าสู่สถานะพลังงานต่ำ รอการพุ่งเข้าชนของโฟตอน ซึ่งจะถูกกระตุ้นใหม่ เป็นวัฏจักรตลอดเวลา โฟตอนที่ได้ออกมาไปทำให้เกิดปฎิกิริยาลูกโซ่ กระตุ้นให้อะตอมอื่นปลดปล่อยโฟตอนออกมาอย่างต่อเนื่อง แต่สังเกตเห็นว่า โฟตอนที่ได้ออกมาข้างบนไม่มีระเบียบเลย การพุ่งออกมาอย่างไม่มีทิศทางนี้ ทำให้เราได้แสงเลเซอร์ที่มีพลังงานไม่มากพอ นำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ ถ้าเราจะนำแสงเลเซอร์ไปใช้ประโยชน์ ลำแสงจะต้องพุ่งไปในทิศทางเดียว
เราจะใช้เทคนิคพิเศษหนึ่ง โดยการเพิ่มกระจกระหว่างอะตอม เมื่อเราปั๊มพลังงานให้กับอะตอม จะเกิดการกระตุ้นของอะตอมจำนวนมาก และได้โฟตอนออกมาจำนวนหนึ่ง โฟตอนจะสะท้อนอยู่ระหว่างกระจก มีพลังงานเพิ่มขึ้นเรื่อย รอจนมีพลังงานมากพอจึงพุ่งผ่านกระจกเป็นแสงเลเซอร์ออกมาใช้งาน เราเคยกล่าวมาแล้วว่า แสงเป็นไปได้ทั้งอนุภาค (particle) และคลื่น (wave) ดังนั้นการอธิบายจึงทำได้ทั้งสองแบบ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
pichet
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 144
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #123 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:24:20 am »
กระผม นายพิเชษฐ์ จันทร์โสภา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411044-4 เลขที่ 37 วันที่ 11/02/54 เวลา 07.24 น.
เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา
แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
kangsachit
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 134
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #124 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 08:37:08 am »
นายกังสชิต จิโน นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411017-0 sec 4 เลขที่ 14 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11/2/54 เวลา 08.37 น. หอมาลีแมนชั่น
แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความยาวคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
mypomz
อภิมหาเทพโพสเก่ง
ออฟไลน์
กระทู้: 121
Re: เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ Laser ฟิสิกส์ 2000
«
ตอบ #125 เมื่อ:
กุมภาพันธ์ 11, 2011, 09:56:17 am »
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา
รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4
ตอบกระทู้วันที่ 11 ก.พ. 54 เวลา 9.56 สถานที่ หอพัก
แสงเลเซอร์ เป็นแสงที่มีระเบียบสูง และเป็นแสงอาพันธ์ นักวิทยาศาสตร์ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แสงเป็นได้ทั้งอนุภาคกับคลื่น หรือเป็นได้ทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ถ้าเราสมมติว่าแสงเป็นอนุภาคเล็กๆ ลำแสงเลเซอร์ ก็คือลำของอนุภาคขนาดจิ๋ว ที่พุ่งไปข้างหน้าอย่างมีระเบียบ หรือถ้าเราสมมติให้แสงเป็นคลื่น ลำแสงเลเซอร์ก็คือ ลูกคลื่นที่มีความคลื่นเท่ากันทุกลูกคลื่น เมื่อโฟตอนเข้าชนกับอะตอม จะทำให้อะตอมอยู่ในสถานะถูกกระตุ้น ตอนนี้ยังไม่มีอะไรเกิดขึ้น และเมื่อมันถูกพุ่งชนอีกครั้ง อะตอมจะปลดปล่อยโฟตอนใหม่ออกมา มีลักษณะเหมือนกับโฟตอนที่พุ่งเข้าชน และมีสีเดียวกัน ถ้ามีพลังงานมากพอจะพุ่งออกมาในทิศทางเดียวกัน เราเรียกกระบวนการนี้ว่า การปล่อยโฟตอนแบบกระตุ้น (Stimulated emission) โฟตอนที่เหมือนกัน จะถูกทำให้เพิ่มขึ้นตลอดเวลา หรือพูดอีกนัยหนึ่ง คือถูกขยายขึ้นนั่นเอง คำว่าขยาย หรือ โตขึ้น ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า แอมพลิฟาย (Amplified) คำว่า เลเซอร์ (laser) ย่อมาจากคำว่า light amplification by stimulated emission of radiation ไม่ทราบว่าจะแปลเป็นไทยให้สละสลวยได้อย่างไร มันยาวเหลือเกิน การทำให้อะตอมอยู่ในสถานะที่ถูกกระตุ้น และทำให้เกิดแสงเลเซอร์ขึ้น ใช้เวลาสั้นมากๆ แต่ในการทดลองที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการอธิบาย เป็นภาพช้า(slow motion) ที่แสดงการเกิดทุกขั้นทุกตอน จึงไม่ใช่เวลาจริง เพราะของจริงเร็วกว่านี้นับเป็นล้านๆเท่า
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
...
3
4
[
5
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...