Chanon_non26
|
 |
« ตอบ #30 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 10:53:27 am » |
|
ชานนท์ พงษ์ไพโรจน์ รหัส 115310903029-2 เลขที่ 52 sec2 เวลา 10:53 วันที่ 9/2/54 ;วิทยบริการ
1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัว สั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน
|
|
|
|
ponyotha
|
 |
« ตอบ #31 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 08:17:03 pm » |
|
ผมนายวีรพล นุ่มน้อย เลขที่ 11 115330411014-7 sce 4 วิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง วันที่ 09/02/2554 เวลา 20.17 น. อยู่เจริญแมนชั่น ทฤษฎีควอนตัมเป็นระบบความรู้ และแนวคิดที่ทันสมัยที่สุด และได้รับการตรวจสอบอย่างกว้างขวางที่สุดของมนุษย์เราเกี่ยวกับโครงสร้างและพฤติกรรมของอนุภาค ในระดับอะตอม และเล็กกว่าอะตอม รวมทั้งอันตรกิริยาของอนุภาคดังกล่าวกับพลังงานในรูปแบบต่างๆ ภายใต้สภาวะเงื่อนไขที่หลากหลาย ตัวอย่างการประยุกต์ทฤษฎีนี้ ได้แก่ การศึกษาโครงสร้างของอะตอม พฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า รวมทั้งการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของอะตอมเมื่อถูกกระตุ้น เป็นต้น เมื่อเรานำ ทฤษฎีควอนตัม ร่วมกับทฤษฎีอื่นๆ (เช่น กลศาสตร์เชิงสถิติเทอร์โมไดนามิกส์ และทฤษฎีสัมพัทธภาพ) ไปประยุกต์ใช้ก็จะทำให้เราสามารถ ศึกษาระบบทางกายภาพต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง และครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น พฤติกรรมทางไฟฟ้าของตัวนำฉนวน และสารกึ่งตัวนำ สมบัติทางความร้อนของสสาร กลไกทางดาราฟิสิกส์ในวงจรชีวิตของดาวฤกษ์ หรือแม้แต่สภาวะทางกายภาพของเอกภพ
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #32 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 08:47:19 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 41 คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา อาจารย์ผู้สอนจรัส บุญธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวัน 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 20:47 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอ
|
|
|
|
watcharich
|
 |
« ตอบ #33 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 08:47:30 pm » |
|
ผมนายวัชริศ สุจินตกาวงศื คณะวิศวกรรมโยธา sec.02 เลขที่ 4 รหัสประจำตัว115040411037-3 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 ก.พ. 2554 เวลา 20:41 น. ที่ บ้าน
สรุปได้ว่า...
ทฤษฎีควอนตัมเป็นระบบความรู้ และแนวคิดที่ทันสมัยที่สุด และได้รับการตรวจสอบอย่างกว้างขวางที่สุดของมนุษย์เราเกี่ยวกับโครงสร้างและ พฤติกรรมของอนุภาค ในระดับอะตอม และเล็กกว่าอะตอม รวมทั้งอันตรกิริยาของอนุภาคดังกล่าวกับพลังงานในรูปแบบต่างๆ ภายใต้สภาวะเงื่อนไขที่หลากหลาย
ตัวอย่างการประยุกต์ทฤษฎีนี้ ได้แก่ การศึกษาโครงสร้างของอะตอม พฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า รวมทั้งการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของอะตอมเมื่อถูกกระตุ้น
|
|
|
|
00sunisa00
|
 |
« ตอบ #34 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 08:55:20 pm » |
|
น.ส.สุนิศ่า ชมมิ sec.2 เลขที่ 46 115310903001-1 สาขาสถิติ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 20.52 น. ณ ร้านอินเตอร์เน็ต ทฤษฎีควอนตัมเป็นระบบความรู้ และแนวคิดที่ทันสมัยที่สุด และได้รับการตรวจสอบอย่างกว้างขวางที่สุดของมนุษย์เราเกี่ยวกับโครงสร้างและ พฤติกรรมของอนุภาค ในระดับอะตอม และเล็กกว่าอะตอม รวมทั้งอันตรกิริยาของอนุภาคดังกล่าวกับพลังงานในรูปแบบต่างๆ ภายใต้สภาวะเงื่อนไขที่หลากหลาย ตัวอย่างการประยุกต์ทฤษฎีนี้ ได้แก่ การศึกษาโครงสร้างของอะตอม พฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็กหรือสนามไฟฟ้า รวมทั้งการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของอะตอมเมื่อถูกกระตุ้น
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #35 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:26:34 am » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4
ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1900 แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว "
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #36 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 10:00:49 am » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา รหัส 115330411011-3 sec.4 วิศวกรรมโยธา วันที 10/2/54 เวลา 10.00 น. ณ บ้านเลขที่ 231/135
ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1900 แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว "
|
|
|
|
Sonthaya Suwaros
|
 |
« ตอบ #37 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 10:09:21 am » |
|
นายสนธยา สุวรส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหกรรม รหัสประจำตัว 115040441089-8 วันที่ 10 ก.พ. 54 เวลา 10.10น.ครับผม แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว
|
|
|
|
udomporn
|
 |
« ตอบ #38 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 12:41:01 pm » |
|
นาย อุดมพร พวงสุวรรณ วิศวกรรมโยธา 115330411025-3 เลขที่ 19 sec.04 วันที่ 10/2/54 เวลา 12.40 ณ.ที่หอลากูน
ทฤษฎีควอนตัมค่อนข้างซับซ้อนและยาวนาน แต่ถ้าหากจะให้แบ่งเป็นช่วงสำคัญๆก็อาจแบ่งได้เป็น 4 ช่วงใหญ่ คือ ฟิสิกส์ก่อนยุคควอนตัม, ทฤษฎีควอนตัมยุคเก่า, กลศาสตร์ควอนตัม และสุดท้ายคือ ทฤษฎีสนามควอนตัม แพลงค์ ผู้ให้กำเนิดสมมติฐานควอนตัม ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1900 แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว "
|
|
|
|
aek cve rmutt
|
 |
« ตอบ #39 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 03:23:48 am » |
|
นาย เอกชัย เสียงล้ำ 115330411046-9 sec 4 วิศวกรรมโยธา กลุ่ม 53341 เวลา 3.23 ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1900 แมกซ์ แพลงค์ ได้ทำให้วงการฟิสิกส์ตื่นตะลึง ด้วยการเสนอสมมติฐานที่แหวกแนว 2 ข้อว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัวสั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว "
|
|
|
|
pisan mulchaisuk
|
 |
« ตอบ #40 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 06:49:00 am » |
|
กระผมนาย ไพศาล มูลชัยสุข นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441215-4 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 6.48 น. ที่หอพักเลิศวิจิตร มีความคิดเห็นว่า 1. อะตอมหรือตัวสั่นที่ผนังภายในของกล่อง สามารถสั่นได้ที่เฉพาะบางค่าของพลังงาน E เท่านั้น ตามความสัมพันธ์ E=nhf โดยที่ f คือ ความถี่ของตัวสั่นหรืออะตอมที่ผนัง, h เป็นค่าคงที่ของแพลงค์ เท่ากับ 6.6262 *10-34 J.sec และ n เป็นจำนวนเต็ม (ซึ่งต่อมาเรียกว่า เลขควอนตัม หรือ quantum number) 2. พลังงานที่ตัวสั่นส่งออกมาในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีได้เฉพาะบางค่าเมื่อตัว สั่นลดพลังงานจากค่าn อีกค่าหนึ่ง( ที่น้อยกว่า )นั่นคือ พลังงานที่คลื่นสามารถแลกเปลี่ยนกับผนังได้ เท่ากับ E = (n) hf โดยที่n = nl - n2 และ nl มากกว่า n2 แต่ตัวแพลงค์เอก็ยังมีความขัดข้องใจ คือ แม้ว่าผลการทำนายจากสมมติฐาน ของเขาจะสอดรับกับผลการทดลองอย่าง งดงาม แต่ (ในยุคนั้น) เหตุผลที่ให้ไว้นั้นรับได้ยากเสียจริงๆ แพลงค์ยังได้กล่าวในภายหลังว่าสมมติฐานที่เขาเสนอไปนั้นเป็น " การกระทำเนื่องจากจนตรอกแล้ว "
|
|
|
|
|