nachaya
|
 |
« ตอบ #60 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 09:12:37 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เลขที่ 49 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 21.13 น. ความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
pongpat
|
 |
« ตอบ #61 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 09:14:54 pm » |
|
กระผมนายพงษ์พัฒน์ น้อยโพธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เลขที่ 51 รหัส 115330441207-1 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12 มกราคม 2554 ที่ บ้าน เวลา 21.14 น ความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
Bifern
|
 |
« ตอบ #62 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 09:14:59 pm » |
|
นางสาวชลทิพย์ เปาทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ เลขที่ 48 รหัสนักศึกษา 115310903007-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12/01/2554 เวลา 21.10 สถานที่ บ้านตัวเอง สรุปได้ว่า หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ - ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ ไม่ผิดเพี้ยน - ไม่มีสัญญาณรบกวน ทนทาน -ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป - ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #63 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 09:23:18 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติ วัน 12/01/54 เวลา 21.15 สถานที่ บ้านตัวเอง
เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ เครื่องขยายเสียงแบบไฮ-ไฟจะเป็นเครื่องขยายเสียงที่สามารถตอบสนองได้ทุกย่านความถี่ตลอดความถี่เสียง นั่นคือเครื่องขยายประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟ เครื่องขยายประเภทนี้เช่น เครื่องขยายเสียงในโรงภาพยนตร์ มินิคอมโป ลำโพงที่มีซับวูฟเฟอร์อยู่ด้วย เป็นต้น ส่วยเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟนั้นจะไม่เน้นที่คุณภาพของเสียง แต่จะเน้นที่ความดังของเสียงเท่านั้น เครื่องขยายเสียงประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงเฉพาะที่ความถี่ใดๆ ความถี่หนึ่งๆ เท่านั้น เช่น เครื่องขยายเสียงแบบประกาศ รถโฆษณา เป็นต้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ - ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ และไม่ผิดเพี้ยน -ไม่มีสัญญาณรบกวน เช่นเสียงฮัม เสียงซิกๆๆ แซกๆๆ -ทนทาน -ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป -ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
toonpccphet
|
 |
« ตอบ #64 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 09:48:40 pm » |
|
นายสุรเชษฐ ทองโฉม นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 65 รหัส 115310903044-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12/01/2554 เวลา 21:48 ณ บ้าน สรุปได้ว่า หัวใจสำคัญสุดของเครื่องขยายเสียง คือ ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์ทำจากสารกึ่งตัวนำ ซึ่งเป็นสารที่สามารถเปลี่ยนแปลงการนำไฟฟ้าได้โดยการเติมสารเจือปนบางอย่างลงไป สารกึ่งตัวนำส่วนใหญ่ทำจากซิลิคอนที่หาได้ง่าย ส่วนกระบวนการเติมสารเจือปนเรียกว่า การโfปปิ้ง (doping) การทำงานของเครื่องขยายออกเป็น 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบส อิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบส จนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุท ทำให้กำแพงศักย์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
waranya
|
 |
« ตอบ #65 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 10:25:05 pm » |
|
น.ส วรัญญา สิงห์ป้อม เลขที่ 69 sec 02 รหัส 115310903049-0 สาขา สถิติ วัน 12/01/54 เวลา 22.24 สถานที่ ศุภมาศ
สรุปได้ว่าหัวใจสำคัญสุดของเครื่องขยายเสียง คือ ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์ทำจากสารกึ่งตัวนำ ซึ่งเป็นสารที่สามารถเปลี่ยนแปลงการนำไฟฟ้าได้โดยการเติมสารเจือปนบางอย่างลงไป สารกึ่งตัวนำส่วนใหญ่ทำจากซิลิคอนที่หาได้ง่าย ส่วนกระบวนการเติมสารเจือปนเรียกว่า การโfปปิ้ง (doping) การทำงานของเครื่องขยายออกเป็น 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบส อิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบส จนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุท ทำให้กำแพงศักย์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
boatvivi
|
 |
« ตอบ #66 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 10:43:18 pm » |
|
นางสาวณัฎฐพร ชื่นสมบัติ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ sec 02 เลขที่ 1 115010451027-8 เวลา 22.43น. วันที่ 12 ม.ค. 2554
ได้เข้ามาทำการทดลองแล้วค่ะ
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #67 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:03:57 pm » |
|
กระผมนายนัฐพล การคณะวงศ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12 มกราคม 2554 ที่ หอดู๊ดดรีม เวลา 23.08 น. สารกึ่งตัวนำ มีความหมายว่าจะเป็นตัวนำก็ไม่ใช่ หรือจะเป็นฉนวนก็ไม่เชิง คุณสมบัติของสารกึ่งตัวนำอยู่ระหว่างการนำไฟฟ้า และเป็นฉนวนวัสดุกึ่งตัวนำเป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ไฟฟ้าเกือบทุกชนิด เช่น เครื่องขยายเสียง วิทยุ หรือเทปคาสเซ็ท ล้วนใช้อุปกรณ์ที่ทำจากทรานซิสเตอร์หรือไดโอด โดยไดโอดทำหน้าแปลงไฟฟ้ากระแสสลับซึงเป็นไฟบ้านให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า สารกึ่งตัวนำ N และ P กระบวนการที่ใส่สารเจือปนลงในวัสดุสารกึ่งตัวนำเราเรียกว่าการโดปปิ้งสารกึ่งตัวนำที่โดปด้วยสารเจือปน และมีอิเล็กตรอนอิสระเหลือในชั้นนอกสุด เราเรียกว่า สารกึ่งตัวนำชนิด N สารกึ่งตัวนำที่เติมสารเจือปนและทำให้เกิดโฮลขึ้น มีประจุไฟฟ้าบวก เพราะว่าขาดอิเล็กตรอนไป พร้อมที่จะไปดึงอิเล็กตรอนจากที่อื่นมาเติม เราเรียกว่า สารกึ่งตัวนำชนิด P
|
|
|
|
shanonfe11
|
 |
« ตอบ #68 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:14:16 pm » |
|
นายชานนท์ ชุมพร เลขที่ 16 รหัส 115210417028-5 sec 02 ตอบที่ หอฟ้าใส วันที่ 12 ม.ค. 54 เวลา 23.14 น. หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาด ลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่าย ขึ้น
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #69 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:17:54 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 12/01/2554 เวลา 23.17 น. สรุปได้ หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาด ลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่าย ขึ้น
|
|
|
|
chaiwat
|
 |
« ตอบ #70 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:31:10 pm » |
|
กระผมนายชัยวัฒน์ คำพันเกิด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เครื่องกล รหัส 115011113029-2 sec.02 เลขที่ 3 ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12/01/2554 เวลา 23.30 น. ที่หอพักโอนิน5 สรุปได้ดังนี้ เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #71 เมื่อ: มกราคม 12, 2011, 11:41:14 pm » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ src02 เลขที่ 66 ตอบกระทู้วันที่ 12/01/12 เวลา 23.30 สถานที่ หอใน หลักการทำงานของเครื่องขยายมี 4 ขั้นตอน 1.วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิเตอร์และคอลเลกเตอร์ ส่วนวงจรด้านอินพุท ต่อเข้ากับอีมิเตอร์กับเบส 2.เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุทหรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปหลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3.เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4.เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุท ทำให้กำแพงศักย์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
KanitaSS
|
 |
« ตอบ #72 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 12:00:55 am » |
|
นางสาวคณิตา สุดจิตร์ นศ.คณะวิทยาศาสตร์สาขาสถิติประยุกต์ Sec2 รหัส115310903030-0เลขที่45ตอบกระทู้วันที่12/01/53 เวลา22.49 น.สถานที่บาน็อฟฟี่ เพลส สรุปได้ว่าหน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
watcharich
|
 |
« ตอบ #73 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 12:10:02 am » |
|
นายวัชริศ สุจินตกาวงศ์ เลขที่ 4 รหัส 115040411037-3 วันที่ 12 ม.ค. 54 เวลา 24.08 น. สถานที่ บ้าน
สรุปว่า
เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ เครื่องขยายเสียงแบบไฮ-ไฟจะเป็นเครื่องขยายเสียงที่สามารถตอบสนองได้ทุกย่านความถี่ตลอดความถี่เสียง นั่นคือเครื่องขยายประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟ เครื่องขยายประเภทนี้เช่น เครื่องขยายเสียงในโรงภาพยนตร์ มินิคอมโป ลำโพงที่มีซับวูฟเฟอร์อยู่ด้วย เป็นต้น ส่วยเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟนั้นจะไม่เน้นที่คุณภาพของเสียง แต่จะเน้นที่ความดังของเสียงเท่านั้น เครื่องขยายเสียงประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงเฉพาะที่ความถี่ใดๆ ความถี่หนึ่งๆ เท่านั้น เช่น เครื่องขยายเสียงแบบประกาศ รถโฆษณา เป็นต้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ *ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ และไม่ผิดเพี้ยน *ไม่มีสัญญาณรบกวน เช่นเสียงฮัม เสียงซิกๆๆ แซกๆๆ *ทนทาน *ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป *ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
ยุพารัตน์ หยิบยก
|
 |
« ตอบ #74 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 01:19:42 am » |
|
นางสาวยุพารัตน์ หยิบยก นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ sec2 รหัสประจำตัว 115110901011-6 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา
หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
namtan
|
 |
« ตอบ #75 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 01:25:23 am » |
|
ดิฉัน นางสาวณัชชา ธิติบุญจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอาหาร sec02 รหัสประจำตัว115210417055-8 เลขที่ 27 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่หอพักโอนิน3 เวลา 01.25น. ความรู้จากเนื้อหาที่ได้คือ เสียงเป็นธรรมชาติที่มหัศจรรย์ยิ่ง เพราะว่าเสียงทำให้อากาศเกิดการสั่นสะเทือน และเคลื่อนที่ออกไปเป็นรูปของคลื่น โมเลกุลของอากาศจะสั่นสะเทือนขึ้นลงตามจังหวะของคลื่นเสียง เมื่อหูของเรารับการสั่นสะเทือนนี้เข้ามา แรงดันของอากาศที่เปลี่ยนแปลงขึ้นและลงจะเข้าไปในแก้วหู และแปรเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าให้สมองตีความออกเป็นเสียง หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว
|
|
|
|
Eakachai_ie
|
 |
« ตอบ #76 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 04:12:24 am » |
|
นายเอกชัย สงวนศักดิ์ รหัส 115040441086-4 เลขที่ 6 วิศวกรรมอุสาหการ sec. 2 เวลา 04.15 น. วันที่ 13/1/54 มี่หอมาลีแมนชั่น หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #77 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 04:54:23 am » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411016-2 กลุ่ม 53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13/01/2554 เวลา4.54 น. ที่ spcondo ได้มีข้อคิดว่า เครื่องขยายเสียงนั้นทำหน้าที่คล้ายๆปั้มน้ำโดยที่รับน้ำเข้ามาแล้วก็ส่งน้ำออกไปด้วยความเร็วและแรง โดยวงจรของเครือ่งขยายเสียงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน วงจรที่หนึ่งคือวงจรขับดันเอาท์พุท โดยทำหน้าที่รับพลังงานมาแล้วแปลงให้เป็ไฟกระแสตรงเพื่อจ่ายไฟให้กับวงจร วงจรที่สองคือวงจรอินพุททำหน้าที่รับสัญญารจานเทป ซีดี แล้วแปลงเป็นลูกคลื่นเพื่อส่งต่อให้เครื่องขยายต่อ หัวใขของเครื่องขยายคือทรานซิตเตอร์กำลังในการขับของเครื่องขยายขึ้นอยู่กับจำนวนทรานซิตเตอร์ที่ใช้
|
|
|
|
Pratanporn
|
 |
« ตอบ #78 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 05:39:11 am » |
|
นายประทานพร พูลแก้ว รหัส115310903057-3 เลขที่75 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13มกราคม 2554 เวลา 05:33 น. สถานที่บ้านของตนเอง หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนคือ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
Kamphon
|
 |
« ตอบ #79 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 11:19:17 am » |
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่13-1-2011 เวลา 11.19 น. ที่วิทยบริการ หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนคือ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
assadawut
|
 |
« ตอบ #80 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 11:24:54 am » |
|
กระผม นายอัษฎาวุฒิ ลำพา นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115330441202-2 sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 11.25 น. ความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
surachet
|
 |
« ตอบ #81 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 01:21:32 pm » |
|
กระผม นายสุรเชฐ กัญจนชุมาบุรพ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 12 มกราคม 2554 ที่ บ้าน เวลา 13.18น. ความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
sarayut sringam
|
 |
« ตอบ #82 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 02:32:05 pm » |
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13 มกราคม 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 14.32น มีความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้ วงจรส่วนที่สองคือ วงจรอินพุท ซึ่งจะรับสัญญาณไฟฟ้าจากเทปหรือเครื่องเล่นซีดี ดีวีดี แผ่นเสียง และไมโครโฟน สัญญาณที่เข้ามายังเป็นลูกคลื่นลูกเล็กๆ ไม่สามารถนำไปขับออกทางลำโพงได้ อย่างไรก็ตามถ้านำหูฟัง ไปต่อไว้ สามารถได้ยินเสียงเบาๆ แต่เมื่อนำสัญญาณนี้ผ่านเข้าเครื่องขยายเสียงจะถูกขยายให้มีขนาดมากขึ้น สามารถนำไปขับออกทางลำโพงได้
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #83 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 02:34:37 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ วิศวกรรมโยธา 53341 cve sec 04 เลขที่ 44 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา 115330411051-9เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 14.34 น. เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ เครื่องขยายเสียงแบบไฮ-ไฟจะเป็นเครื่องขยายเสียงที่สามารถตอบสนองได้ทุกย่านความถี่ตลอดความถี่เสียง นั่นคือเครื่องขยายประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟ เครื่องขยายประเภทนี้เช่น เครื่องขยายเสียงในโรงภาพยนตร์ มินิคอมโป ลำโพงที่มีซับวูฟเฟอร์อยู่ด้วย เป็นต้น ส่วยเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟนั้นจะไม่เน้นที่คุณภาพของเสียง แต่จะเน้นที่ความดังของเสียงเท่านั้น เครื่องขยายเสียงประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงเฉพาะที่ความถี่ใดๆ ความถี่หนึ่งๆ เท่านั้น เช่น เครื่องขยายเสียงแบบประกาศ รถโฆษณา เป็นต้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ *ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ และไม่ผิดเพี้ยน *ไม่มีสัญญาณรบกวน เช่นเสียงฮัม เสียงซิกๆๆ แซกๆๆ *ทนทาน *ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป *ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
ittiwat
|
 |
« ตอบ #84 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 02:35:01 pm » |
|
อิทธิวัตร จิตต์ั่มั่นคงกุล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติปรยุกต์ sec02เลขที่60 เวลา 14.34 ทำที่บ้าน หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอนคือ 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #85 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 03:06:58 pm » |
|
|
|
|
|
udomporn
|
 |
« ตอบ #86 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 03:25:24 pm » |
|
นาย อุดมพร พวงสุวรรณ รหัส115330411025-3 sec4 เลขที่19 วิศวกรรมโยธา วันที่13/1/54 เวลา 15.25 ที่หอลากูลแมนชั่น
เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ เครื่องขยายเสียงแบบไฮ-ไฟจะเป็นเครื่องขยายเสียงที่สามารถตอบสนองได้ทุกย่านความถี่ตลอดความถี่เสียง นั่นคือเครื่องขยายประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟ เครื่องขยายประเภทนี้เช่น เครื่องขยายเสียงในโรงภาพยนตร์ มินิคอมโป ลำโพงที่มีซับวูฟเฟอร์อยู่ด้วย เป็นต้น ส่วยเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟนั้นจะไม่เน้นที่คุณภาพของเสียง แต่จะเน้นที่ความดังของเสียงเท่านั้น เครื่องขยายเสียงประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงเฉพาะที่ความถี่ใดๆ ความถี่หนึ่งๆ เท่านั้น เช่น เครื่องขยายเสียงแบบประกาศ รถโฆษณา เป็นต้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ *ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ และไม่ผิดเพี้ยน *ไม่มีสัญญาณรบกวน เช่นเสียงฮัม เสียงซิกๆๆ แซกๆๆ *ทนทาน *ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป *ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #87 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 03:28:12 pm » |
|
ผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เลขที่ 49 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 13 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 15.29 น. ความคิดเห็นว่า หน้าที่ของเครื่องขยายเสียง ถ้าเปรียบเทียบ ก็เหมือนกับปั๊มน้ำ คือมีหน้าที่ปั๊มให้น้ำทางด้านอินพุทที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องขยายเสียง มันมีหน้าที่ปั๊มให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้ามา ออกไปทางด้านเอาท์พุท ด้วยความแรงและเร็ว เครื่องขยายเสียงจะขับดันสัญญาณด้านเอาท์พุท ตามสัญญาณด้านอินพุท เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นเราจะแบ่งวงจรเครื่องขยายเสียงออกเป็น 2 ส่วน วงจรส่วนที่หนึ่งคือ วงจรทางเอาท์พุท ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ หรือจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าเราใช้วิธีเสียบปลั๊กไฟที่บ้าน ไฟที่ได้เป็นไฟกระแสสลับ จะต้องแปลงไฟเป็นไฟตรงก่อนจึงจะป้อนให้กับวงจรเครื่องขยายเสียงได้
|
|
|
|
mongkhonphan
|
 |
« ตอบ #88 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 03:47:40 pm » |
|
นายมงคลพันธ์ แซ่หลี รหัส 115330411039-4 เลขที่ 32 วิศวกรรมโยธา sec. 04 เวลา 15.44 วันที่ 13/1/54 ที่หอลากูน หลักการทำงานของเครื่องขยายเสียงแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน 1. วงจรทางด้านเอาท์พุทต่อเข้ากับอีมิตเตอร์และคอลเลกเตอร์ส่วนวงจรด้านอินพุทต่อเข้ากับิีมิตเตอร์กับเบส 2. เมื่อยังไม่มีกระแสไหลเข้าไปทางด้านอินพุท หรือขาเบสอิเล็กตรอนอิสระจากสารชนิด N จะเข้าไปลงหลุมของชนิด P ในขาเบสจนเต็ม 3. เกิดกำแพงศักย์ขึ้น หรือดีพลีชั่นโซนหนาขึ้นทำให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ยาก 4. เมื่อมีกระแสหรือสัญญาณทางไฟฟ้าไหลเข้ามาทางอินพุททำให้กำแพงศักดิ์ลดขนาดลง แรงต้านทานลดลง อิเล็กตรอนสามารถกระโดดข้ามกำแพงศักย์จากอีมิตเตอร์ไปคอลเลกเตอร์ได้ง่ายขึ้น
|
|
|
|
bear
|
 |
« ตอบ #89 เมื่อ: มกราคม 13, 2011, 04:17:04 pm » |
|
นาย อุดม แก้วชู sec 4 รหัส 115330411034-5 โยธาต่อเนื่อง เลขที่ 28 วันที่ 13/1/54 เวลา 16.18 น. ที่ตึกวิทยบริการ เครื่องขยายเสียงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทของคุณภาพเสียงคือ 1. เครื่องขยายเสียงไฮ-ไฟ 2. เครื่องขยายเสียงแบบที่ไม่ใช่ไฮไฟ เครื่องขยายเสียงแบบไฮ-ไฟจะเป็นเครื่องขยายเสียงที่สามารถตอบสนองได้ทุกย่านความถี่ตลอดความถี่เสียง นั่นคือเครื่องขยายประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงที่ดีกว่าเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟ เครื่องขยายประเภทนี้เช่น เครื่องขยายเสียงในโรงภาพยนตร์ มินิคอมโป ลำโพงที่มีซับวูฟเฟอร์อยู่ด้วย เป็นต้น ส่วยเครื่องขยายแบบไม่ใช่ไฮ-ไฟนั้นจะไม่เน้นที่คุณภาพของเสียง แต่จะเน้นที่ความดังของเสียงเท่านั้น เครื่องขยายเสียงประเภทนี้จะให้คุณภาพเสียงเฉพาะที่ความถี่ใดๆ ความถี่หนึ่งๆ เท่านั้น เช่น เครื่องขยายเสียงแบบประกาศ รถโฆษณา เป็นต้น เครื่องขยายเสียงที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ *ขยายสัญญาณเสียงได้สม่ำเสมอ และไม่ผิดเพี้ยน *ไม่มีสัญญาณรบกวน เช่นเสียงฮัม เสียงซิกๆๆ แซกๆๆ *ทนทาน *ราคาเหมาะสม ไม่แพงเกินไป *ซ่อมง่าย หาอะไหล่ง่าย
|
|
|
|
|