ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: มิถุนายน 12, 2007, 05:45:21 pm » |
|
เชื่อว่าคุณคงเคยได้อ่านประวัติของระเบิดปรมาณู ในสงครามโลกครั้งที่ 2 มาบ้างแล้ว และตอนนี้ก็มีภาพยนตร์ที่แสดงถึงความพินาศย่อยยับหลังการเกิดระเบิดออกมาให้ดูเรื่อยๆ ดังเช่น คนเหล็ก และ วันล้างโลกเป็นต้น หลายประเทศกำลังวิตกเรื่องภัยคุกคามจากนิวเคลียร์ มีการออกมาตรการต่างๆ เพื่อจำกัดอาวุธนิวเคลียร์ และเซ็นสัญญากันวุ่นวายไปหมด ขณะที่บางประเทศไม่เห็นด้วยกับสัญญา และกำลังเร่งสะสมอาวุธนิวเคลียร์ ตัวอย่างเช่น อินเดีย และปากีสถาน และเมื่อเร็วๆนี้ ประเทศเกาหลีเหนือได้ทดลองอาวุธนิวเคลียร์ โดยอ้างความจำเป็นในการป้องกันตนเอง การทำลายล้างของระเบิดนิวเคลียร์สูงมากจนน่าตกใจ ฟิสิกส์ราชมงคลจะเปิดเผยกฎพื้นฐานทางฟิสิกส์ รวมทั้งการสร้างระเบิดให้คุณได้ทราบในหน้าถัดไป คลิกครับ
|
|
|
|
potchapon031
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: พฤศจิกายน 09, 2010, 06:26:02 pm » |
|
นาย ภชพน เกตุวงศ์ รหัสนักศึกษา 115330411031-1 sec4 สถานที่ กิตติงพงษ์ แมนชั่น นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 07:03:14 am » |
|
นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ หอพัก โฟร์บี แมนชั้น เวลา. 7:02 มีความเห็นว่า ระเบิดนิวเคลียร์เป้าหมายอยู่ที่พลเรือนสิ่งก่อสร้างอำนาจการทำลายคลื่นความร้อนสูงถึง300ล้านองศาเซลเชียส ความดันจากคลื่นกระแทก กัมตรังสี ฝุ่นรังสี
|
|
|
|
tanunnunoi
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 11:35:20 am » |
|
กระผมนาย ฐานันดร์ หนูน้อย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411050-1 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ หอพัก เจริญสุข แมนชั้น เวลา. 11:35 น. มีความคิดเห็นว่า อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: พฤศจิกายน 10, 2010, 04:22:45 pm » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 10/11/2553 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 04.22 น.
ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส วิธีที่จะดึงพลังจาดอะตอมมี 2 วิธี คือ นิวเคลียร์ฟิชชั่นและนิวเคลียร์ฟิวชั่น ภายในระเบิดนิวเคลียร์จะประกอบด้วย เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่นและฟิวชั่น อุปกรณ์ทิกเกอร์ และนิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ ในการระเบิดของนิวเคลียร์นั้นจะต้องใช้ตัวกระตุ้นคือ การใช้ปืนกระตุ้นของเจ้าหนูน้อย และการใช้ระเบิดกระตุ้นของเจ้าหมูอ้วน ผลของการระเบิดของนิวเคลียร์จะเป็นการระเบิดทำลาย มนุษย์และอาคารสิ่งปลูกสร้างเป็นส่วนใหญ่ การระเบิดจะทำให้เกิด คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก สารกัมมันตรังสี ฝุ่นละอองของผงรังสี
|
|
|
|
moso003
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 01:13:51 am » |
|
นาย ชินดนัย ใจดี รักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา คณิตศาสตร์ รหัสนักศึกษา 115110901089-2 sec 2 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 11/11/2553 สถานที่ บ้านพัก เวลา 01:13 น.
อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีพลังการทำร้ายล้างสูง ระเบิดนิวเคลียร์เกี่ยวข้องอยู่กับแรงที่ยึดเหนึ่ยวอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส ถ้าใช้ในทางที่ดีจะเกิดประโยนช์มหาศาล แต่ถ้าใช้ในทางที่ไม่ดี จะสร้างหายนะที่ใหญ่หลวงเช่นเดียวกัน นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 10:46:53 am » |
|
กระผมนายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411005-5 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 เดือน พฤศจิกายัน พ.ศ. 2553 ที่ สวนสุทธิพันธ์ เวลา. 10:45 น. ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2010, 11:42:59 pm » |
|
กระผม นายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัสประจำตัว 115330441213-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 ที่ บ้าน เวลา 23.41 น. มีความคิดเห็นว่า ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน
|
|
|
|
suchart
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: พฤศจิกายน 15, 2010, 04:08:29 pm » |
|
นาย สุชาติ สุวรรณวัฒน์ นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ รหัสนักศึกษา 115210441230-7 เลขที่ _ Sec.02 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 15/11/2553 สถานที่ หออยู่เจริญ เวลา 16.10 น.
ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส วิธีที่จะดึงพลังจาดอะตอมมี 2 วิธี คือ นิวเคลียร์ฟิชชั่นและนิวเคลียร์ฟิวชั่น ภายในระเบิดนิวเคลียร์จะประกอบด้วย เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่นและฟิวชั่น อุปกรณ์ทิกเกอร์ และนิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ ในการระเบิดของนิวเคลียร์นั้นจะต้องใช้ตัวกระตุ้นคือ การใช้ปืนกระตุ้นของเจ้าหนูน้อย และการใช้ระเบิดกระตุ้นของเจ้าหมูอ้วน ผลของการระเบิดของนิวเคลียร์จะเป็นการระเบิดทำลาย มนุษย์และอาคารสิ่งปลูกสร้างเป็นส่วนใหญ่ การระเบิดจะทำให้เกิด คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก สารกัมมันตรังสี ฝุ่นละอองของผงรังสี
|
|
|
|
crowfinky
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 12:04:04 am » |
|
กระผม สุริยะ ชีวันพิศาลนุกูล นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสประจำตัว 115330441225-3 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 18/11/53 ที่ ร้าน shooter เวลา 00.06 น. มีความคิดเห็นว่า
ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน
|
|
|
|
nontapun
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 05:35:19 pm » |
|
กระผม นายนนทพันธ์ เสนาฤทธิ์ นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัสประจำตัว 115330441217-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 ที่ อาคารวิทยบริการ เวลา 17.40 น. มีความคิดเห็นว่า ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 06:00:51 pm » |
|
ผม นาย นัฐพล การคณะวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ อ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 เวลา 18.05 ที่อาคารวิทยบริการ มีความเห็นว่า เรามีวิธี 2 วิธีที่จะดึงพลังงานจากอะตอมออกมาได้ดังนี้ 1 นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก พร้อมกับได้อนุภาคนิวตรอนจำนวนหนึ่ง วิธีนี้ใช้ได้กับไอโซโทปของยูเรเนียม 235 ยูเรเนียม 233 และพลูโตเนียม 239 2 นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ โดยทั่วไปใช้กับไอโซโทปของไฮโดรเจน (ดิวทีเรียม และทริเทียม) วิธีนี้เป็นวิธีเดียวกันกับที่ดวงอาทิตยให้พลังงานออกมา ทั้งกระบวนการฟิชชั่น และฟิวชั่น จะให้พลังงานและรังสีออกมาอย่างมากมาย ใช้ยูเรเนี่ยม 235 เป็นเชื้อเพลิง โดยการยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียสของยูเรเนี่ยม 235 ทำให้นิวเคลียสเกิดความไม่เสถียร และแตกออก พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาเป็นจำนวนมหาศาล อยู่ในรูปของความร้อนและรังสีแกมม่า ถ้าอะตอมใหญ่แตกออกเป็นอะตอมเล็ก จะมีมวลบางส่วนสูญหายไป -อำนาจการทำลายเกิดจาก คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก กัมมันตรังสี ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว
|
|
|
|
nachaya
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 06:16:49 pm » |
|
กระผมนาย ณชย ประสพเนตร์ นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 ที่ บ้าน เวลา 18.16 น. มีความคิดเห็นว่า ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน
|
|
|
|
pongpat
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 06:42:41 pm » |
|
นาย พงษ์พัฒน์ น้อยโพธิ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนักศึกษา 115330441207-1 sec 4 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 18/11/2553 สถานที่ วิทยบริการ เวลา 18.42 น.
อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีพลังการทำร้ายล้างสูง ระเบิดนิวเคลียร์เกี่ยวข้องอยู่กับแรงที่ยึดเหนึ่ยวอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส ถ้าใช้ในทางที่ดีจะเกิดประโยนช์มหาศาล แต่ถ้าใช้ในทางที่ไม่ดี จะสร้างหายนะที่ใหญ่หลวงเช่นเดียวกัน นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น
|
|
|
|
assadawut
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 06:47:41 pm » |
|
นาย อัษฎาวุฒิ ลำพา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ รหัสนักศึกษา 115330441202-2 sec 4 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 18/11/2553 สถานที่ วิทยบริการ เวลา 18.50 น.
อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีพลังการทำร้ายล้างสูง ระเบิดนิวเคลียร์เกี่ยวข้องอยู่กับแรงที่ยึดเหนึ่ยวอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส ถ้าใช้ในทางที่ดีจะเกิดประโยนช์มหาศาล แต่ถ้าใช้ในทางที่ไม่ดี จะสร้างหายนะที่ใหญ่หลวงเช่นเดียวกัน นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น
|
|
|
|
ponyotha
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2010, 09:23:41 pm » |
|
กระผม วีรพล นุ่มน้อย นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสประจำตัว 115330411014-7 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 18/11/53 ที่ หออยู่เจริญ เวลา 21.23 น. มีความคิดเห็นว่า
ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก
|
|
|
|
bankclash032
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 20, 2010, 12:53:35 am » |
|
ผมนาย สุริยพงศ์ ทองคำ นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ(สมทบ) รหัส115340441221-1 sec17 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่20-11-2010 เวลา 0.51 ทำที่หอประสงค์ก้าวหน้า สรุปได้ว่า ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธ นิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก
รามีวิธี 2 วิธีที่จะดึงพลังงานจากอะตอมออกมาได้ดังนี้ 1 นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก พร้อมกับได้อนุภาคนิวตรอนจำนวนหนึ่ง วิธีนี้ใช้ได้กับไอโซโทปของยูเรเนียม 235 ยูเรเนียม 233 และพลูโตเนียม 239 2 นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ โดยทั่วไปใช้กับไอโซโทปของไฮโดรเจน (ดิวทีเรียม และทริเทียม) วิธีนี้เป็นวิธีเดียวกันกับที่ดวงอาทิตยให้พลังงานออกมา ทั้งกระบวนการ ฟิชชั่น และฟิวชั่น จะให้พลังงานและรังสีออกมาอย่างมากมาย ใช้ยูเรเนี่ยม 235 เป็นเชื้อเพลิง โดยการยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียสของยูเรเนี่ยม 235 ทำให้ นิวเคลียสเกิดความไม่เสถียร และแตกออก พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาเป็นจำนวนมหาศาล อยู่ในรูปของความร้อนและรังสีแกมม่า ถ้าอะตอมใหญ่แตกออกเป็นอะตอมเล็ก จะมีมวลบางส่วนสูญหายไป -อำนาจการทำลายเกิดจาก คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก กัมมันตรังสี ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว
|
|
|
|
watchaiza
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 25, 2010, 10:00:16 pm » |
|
นาย ธวัชชัย พลรักษ์ นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411041-0 เลขที่ 34Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 25/11/2553 สถานที่ บ้านพฤกษา เวลา 21:59น. ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส วิธีที่จะดึงพลังจาดอะตอมมี 2 วิธี คือ นิวเคลียร์ฟิชชั่นและนิวเคลียร์ฟิวชั่น ภายในระเบิดนิวเคลียร์จะประกอบด้วย เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่นและฟิวชั่น อุปกรณ์ทิกเกอร์ และนิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ ในการระเบิดของนิวเคลียร์นั้นจะต้องใช้ตัวกระตุ้นคือ การใช้ปืนกระตุ้นของเจ้าหนูน้อย และการใช้ระเบิดกระตุ้นของเจ้าหมูอ้วน ผลของการระเบิดของนิวเคลียร์จะเป็นการระเบิดทำลาย มนุษย์และอาคารสิ่งปลูกสร้างเป็นส่วนใหญ่ การระเบิดจะทำให้เกิด คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก สารกัมมันตรังสี ฝุ่นละอองของผงรังสี
|
|
|
|
watchaiza
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 07:53:21 pm » |
|
นายธวัชชัย พลรักษ์ สาขาวิศวกรรมโยธา sec.04 เลขที่ 34 เข้ามาโพสท์ วันที่ 21/01/54 เวลา 19.53 น. สถานที่ บ้าพฤกษา ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจาก แรงยึดเหนี่ยวของอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส วิธีที่จะดึงพลังจาดอะตอมมี 2 วิธี คือ นิวเคลียร์ฟิชชั่นและนิวเคลียร์ฟิวชั่น ภายในระเบิดนิวเคลียร์จะประกอบด้วย เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่นและฟิวชั่น อุปกรณ์ทิกเกอร์ และนิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ ในการระเบิดของนิวเคลียร์นั้นจะต้องใช้ตัวกระตุ้นคือ การใช้ปืนกระตุ้นของเจ้าหนูน้อย และการใช้ระเบิดกระตุ้นของเจ้าหมูอ้วน ผลของการระเบิดของนิวเคลียร์จะเป็นการระเบิดทำลาย มนุษย์และอาคารสิ่งปลูกสร้างเป็นส่วนใหญ่ การระเบิดจะทำให้เกิด คลื่นความร้อน ความดันจากคลื่นกระแทก สารกัมมันตรังสี ฝุ่นละอองของผงรังสี
|
|
|
|
amnuay cve2
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 26, 2011, 05:16:54 pm » |
|
 กระผมนาย อำนวย เกิดโภคา นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา SEC 17 เลขที่ 10 รหัส 115340411116-9 อาจารย์ผู้สอน ผศ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26/1/2554 ที่บ้าน เวลา 17.16 น.  นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว
|
|
|
|
rungsan
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 01:24:27 am » |
|
นาย รังสรรค์ พัธกาล 115340441243-5 sec 17 เลขที่32 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 28/1/54 เวลา 01.25 น. สถานที่บ้าน นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว
|
|
|
|
Jutharat
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 02:26:15 pm » |
|
นางสาวจุฑารัตน์ นาวายนต์ รหัส 115210417058-2 เลขที่ 28 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 มกราคม 2554 เวลา14.20ณ หอ RS ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน
|
|
|
|
aimz
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 10:30:44 pm » |
|
นางสาว สุภวรรณ เดชปรีดาผล รหัส 115110903068-4 sec.02
ตอบกระทู้วันที่ 28/01/54 22:29น. หอพัก
สรุปว่า...
นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว
|
|
|
|
THANAKIT
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 05:01:27 pm » |
|
นายธนกฤต เฉื่อยฉ่ำ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัส 115340441248-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 29 มกราคม 2554 เวลา 17.01น. สถาน บ้าน นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว 
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 02:38:41 pm » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย รหัส 115340441222-9 sec 17 เลขที่ 25 สถานที่ บ. เจเอสออโตเวิร์ค วันที่ 31/1/2553 เวลา 14.38 ระเบิดนิวเคลียร์เกี่ยวข้องอยู่กับแรงที่ยึดเหนึ่ยวอนุภาคต่างๆไว้ในนิวเคลียส แรงนี้มีค่ามหาศาล เรามีวิธี 2 วิธีที่จะดึงพลังงานจากอะตอมออกมาได้ดังนี้ 1นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก พร้อมกับได้อนุภาคนิวตรอนจำนวนหนึ่ง วิธีนี้ใช้ได้กับไอโซโทปของยูเรเนียม 235 ยูเรเนียม 233 และพลูโตเนียม 239 2นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ โดยทั่วไปใช้กับไอโซโทปของไฮโดรเจน (ดิวทีเรียม และทริเทียม) วิธีนี้เป็นวิธีเดียวกันกับที่ดวงอาทิตยให้พลังงานออกมา
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 02:48:50 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411051-9เลขที่ 44 sec 04 สถานที่ วิทยะบริการ วันที่ 31/1/2554 เวลา 14.48 น. นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก การ ระเบิดแล้ว
|
|
|
|
rungniran
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 11:25:12 am » |
|
ผมนายรุ่งนิรันดร์ สอนจันทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411005-5 sec 04 เลขที่ 5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 2/02/54 เวลา 11.23 pm ที่สวนสุทธิพันธ์ ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ ผลของระเบิดนิวเคลียร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก -คลื่นความร้อน -ความดันจากคลื่นกระแทก -กัมมันตรังสี -ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจากการระเบิดแล้ว อาวุธนิวเคลียร์มีอำนาจการทำลายล้างสูงมาก ถ้าใครมีไว้ในครอบครอง มีโอกาสที่จะนำมาใช้ได้ทุกเมื่อ และทุกสถานการณ์ แต่ถ้าใครไม่มี ก็ใช่ว่าจะปลอดภัย เพราะมีโอกาสจะถูกทำลายล้าง เช่นเดียวกัน 
|
|
|
|
bear
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 02, 2011, 09:34:26 pm » |
|
นาย อุดม แก้วชู 115330411034-5 เลขที่ 28 02/02/2554 วิศวกรรมโยธา sec 4 เวลา 21.34น หอพักมณีโชติ ระเบิดนิวเคลียร์เป็นการนำเอาความรู้ทางด้าน เคมีและฟิสิกส์มาใช้ในการศึกษาทดลองการสลายตัวของธาตุหมู่รังสีที่ปดปล่อยพลังงาน ในปัจุบันมีการศึกษาการคลายพลังงานแยกเป็นสองหมวดหมู่ด้วยกัน ได้แก่การคลายพลังงานแบบฟิสชั่น การสลายตัวแบบนี้ส่วนมากใช้ในงานนิวเคลียร์ แบบที่สองเป็นแบบฟิวชั่นแบบนี้จะปดปล่อยพลังงานมหาศาลเกิดที่ดวงอาทิตย์ อาวุธนิวเคลียร์ เป็นอาวุธที่อาศัยพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีอำนาจการทำลายล้างสูง อาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดสามารถทำลายเมืองใหญ่ทั้งเมืองได้ ในอดีตอาวุธนิวเคลียร์ถูกนำมาใช้ในสงครามเพียง 2 ครั้งเท่านั้นในประวัติศาสตร์ โดยสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่ม เมืองฮิโรชิมา และนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีการทดสอบอีกหลายร้อยครั้งภายใต้การรับรองจากหลายประเทศ
|
|
|
|
narongdach
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 03, 2011, 07:54:34 pm » |
|
นายณรงค์เดช เพ็งแจ่ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441220-3 ตอบกระทู้วันที่ 3/02/54 เวลา 19.55 น. สถานที่ อพาร์ทเม้นต์ เอกภาคย์ เมืองเอก
นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout ) คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสี จะตกลงมาบนพื้น หลังจาก
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 05:15:27 am » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411016-2 กลุ่ม 53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 04/02/2554 เวลา5.15 น. ที่spcondo ได้มีข้อคิดเห็นดังนี้ นิวเครียมี2ประเภทคือ 1.นิวเคลียร์ฟิชชั่น แยกนิวเคลียสขนาดใหญ่ให้เป็นนิวเคลียสขนาดเล็ก 2.นิวเคลียร์ฟิวชั่น รวมนิวเคลียสขนาดเล็กอย่างน้อย 2 อันให้เป็นนิวเคลียสขนาดใหญ่ ภายในลูกระเบิดนิวเคลียร์ ประกอบด้วย 1.เชื้อเพลิงสำหรับปฏิกิริยาฟิชชั่น และฟิวชั่น 2.อุปกรณ์ทริกเกอร์ (triggering) 3.นิวตรอนเจนเนอเรเตอร์ อำนาจการทำลายเกิดจาก - คลื่นความร้อน - ความดันจากคลื่นกระแทก - กัมมันตรังสี - ฝุ่นผงรังสี (Radioactive fallout)คือหมอกหรือฝุ่นผงที่มีสารกัมมันตรังสีจะตกลงมาบนพื้นหลังจากการระเบิดแล้ว
|
|
|
|
|