ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: มิถุนายน 12, 2007, 10:06:55 pm » |
|
เมื่อความลับเกี่ยวกับปฎิกิริยานิวเคลียร์ได้ถูกค้นพบ นักวิทยาศาสตร์ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้พยายาม หาทางที่จะนำเอาพลังงานมหาศาลนี้มาใช้เป็นอาวุธ โครงการแมนฮัตตันจึงได้อุบัติขึ้น เพื่อพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ ควบคู่ไปกับอาวุธมหาประลัย เพื่อทดลองกับชีวิตจริงๆ ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร สส่วนอะตอมเป็นอย่างไรนั้นได้มีผู้ทดลองและตั้งทฤษฎีในอตนปลายคริสต์ศ๖วรรษที่ 19 โดยในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง คลิกอ่านต่อครับ
|
|
|
|
udomporn
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 02:16:20 am » |
|
นายอุดมพร พวงสุวรรณ วิศวกรรมโยธา 115330411025-3 เลขที่19 วันที่15/01/54 เวลา 02.16 ที่ หอลากูน
จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 11:38:42 am » |
|
ผมนายศิวภัทร์ รัตนสมบูรณ์ รหัส 115330411024-6 เลขที่ 18 sec.4 วิศวกรรมโยธา วันที่ 15/1/54 เวลา 11.37 am. ที่หอลากูลแมนชั่น พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
watchaiza
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 07:57:40 pm » |
|
ไนายธวัชชัย พลรักษ์ สาขาวิศวกรรมโยธา sec.04 เลขที่ 34 เข้ามาโพสท์ วันที่ 21/01/54 เวลา 19.57 น. สถานที่ บ้าพฤกษา อน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 01:44:10 pm » |
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 13.44 น มีความเห็น โครงการแมนแฮตตัน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา 
|
|
|
|
mukkie
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 12:56:28 pm » |
|
นางสาว ปาณิศา ไพรสยม sec.2 เลขที่73 รหัสนักศึกษา 115310903054-0 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ ตอบกระทู้วันที่23ม.ค.54 เวลา12.52น. ที่บ้านตัวเอง ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
sutin
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: มกราคม 26, 2011, 02:30:02 pm » |
|
นาย สุทิน ศรีวิลัย รหัส 115340441222-9 sec17 เลขที่ 25 สถานที่ บ.เจเอสออโตเวิร์ค วันที่ 26/1/2554 เวลา 14.30 ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
rungsan
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 01:37:16 am » |
|
นาย รังสรรค์ พัธกาล 115340441243-5 sec 17 เลขที่32 วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ วันที่ 28/1/54 เวลา 01.37 น. สถานที่บ้าน วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอม เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็น อย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Jutharat
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 02:02:25 pm » |
|
นางสาวจุฑารัตน์ นาวายนต์ รหัส 115210417058-2 เลขที่ 28 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 28 มกราคม 2554 เวลา14.00หอ RS อน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
bankclash032
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 04:12:28 pm » |
|
กระผม นาย สุริยพงศ์ ทองคำ นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 17 เลขที่ 24 รหัสประจำตัว115340441221-1 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา ตอบเมื่อวันที่ 28/1/54 เวลา 16.12 น. ณ.หอประสงค์ ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Sunti
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 09:46:23 pm » |
|
Sunti Civil นายสันติ บัวงาม นศ.วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411021-2 Sec 4 เลขที่ 16 ตอบกระทู้วันที่ 28/01/54 เวลา 21:45 น. ณ. หอป้าอ้วน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
aimz
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: มกราคม 28, 2011, 09:55:32 pm » |
|
นางสาว สุภวรรณ เดชปรีดาผล รหัส 115110903068-4 sec.02
เข้าตอบกระทู้วันที่ 28/01/54 21:55; ที่หอพักราชมงคล
สรุปว่า..
จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
THANAKIT
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: มกราคม 29, 2011, 05:05:42 pm » |
|
นายธนกฤต เฉื่อยฉ่ำ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัส 115340441248-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 29 มกราคม 2554 เวลา 17.06 น. สถาน บ้าน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Kunlaya
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 11:45:23 am » |
|
นางสาวกัลยา เปรมเปรย นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 2 เลขที่ 33 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา 10.44 น. ที่ หอพัก เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา มีความคิดเห็นว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
kittisap
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 08:03:24 pm » |
|
กระผม นายกิตติศัพท์ ถนัดงาน นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 ที่ บ้าน ซอยพรธิสาร3 เวลา 20.03 น. ความคิดเห็นว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
sompol w. 53444 INE
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 09:09:04 pm » |
|
  กระผม นายสมพล วงศ์ไชย คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ sec 17 รหัสนักศึกษา 115340441208-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้วันที่ 30 เดือน มกราคม พศ.2554 ที่ จันทร์เพ็ญอพาร์ทเมนท์ เวลา 21:09 วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
satawat
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 10:25:21 pm » |
|
นายศตวรรษ รัตนภักดี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ sec 2 เลขที่ 34 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 เวลา22.24น. ที่ หอพัก เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ความว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
pongpat
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 10:31:11 pm » |
|
กระผมนายพงษ์พัฒน์ น้อยโพธิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 เลขที่ 51 รหัส 115330441207-1 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 30 มกราคม 2554 ที่ บ้าน เวลา 22.31 น
ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Sirilak
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 10:51:18 pm » |
|
นางสาวสิริลักษณ์ ศัพสุข เลขที่30 sec.02 รหัส115210417064-0 เรียนกับ อ.จรัส บุณยธรรมา วันที่30 มกราคม 2554 เวลา22.50น.
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Monthon
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 09:54:30 am » |
|
กระผม นายมณฑล รินชุมภู นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441206-2 เลขที่ 16 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 31 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 09.54น. สถานที่ บ้านพักที่วังน้อย
สรุปได้ว่า วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
suppachok
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 02:36:06 pm » |
|
นาย ศุภโชค เปรมกิจ วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411051-9เลขที่ 44 sec 04 สถานที่ วิทยะบริการ วันที่ 31/1/2554 เวลา 14.37 น. ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
somphoch
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 10:29:06 pm » |
|
นายสมโภชน์ จิกกรีนัย sec.17 เลขที่34 รหัสนักศึกษา 115340441247-6 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาอุตสาหการ-การจัดการ ตอบวันที่ 31/01/54 เวลา22.30น. ที่บ้าน เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Utchima
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 11:58:24 am » |
|
นางสาวอัจจิมา แขกสะอาด นศ.วิทยาการคอมพิวเตอร์ sec02 เลขที่ 23 รหัส 115110905096-3 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 01 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ บ้าน เวลา 12.58 น
ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
chinnapot
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 01:18:52 pm » |
|
นายชินพจน์ เดชเกษรินทร์ คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ-การจักการ รหัส 115340441238-5 sec17 วันที่31/01/54 เวลา13.18 ณ ทรัพย์ถาวรอพาร์ทเม้นท์
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
chatchai
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 03:53:20 pm » |
|
กระผม นาย ฉัตรชัย กล่อมเกลี้ยง นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441232-8 เลขที่ 28 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 01 เดือน กุมภาพันธ์ พศ . 2554 เวลา 15.52 น. สถานที่ หอพัก 4B
สรุปว่า
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
IIKWANGSTSTII
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 04:46:09 pm » |
|
นางสาวกิ่งกาญจน์ แสนคำ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 54 รหัส 115310903031-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 01/02/2554 เวลา 16.45 สถานที่ Shooter cafe' วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Chantana
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 05:06:07 pm » |
|
นางสาวฉันทนา ไกรสินธุ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 47 รหัส 115310903002-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 1/02/2554 เวลา 17:07 สถานที่ Shooter Internet ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
namwhan
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 05:20:36 pm » |
|
นางสาวพรรณฐิณี โสภาวนัส นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 56 รหัส 115310903033-4 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 1/02/2554 เวลา 17:19 สถานที่ Shooter Internet ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
werayut rmutt
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 05:56:50 pm » |
|
นายวีรยุทธ บุญใหญ่ เลขที่ 45 รหัส115330411052-7 sec.04 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17.55 น. ณ ตึกวิทยะบริการ
ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 01, 2011, 11:02:13 pm » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 1/02/54 เวลา 23:02 น. สถานที่ หอ เอื้อมเดือน สรุป : พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
|