bobo
|
 |
« ตอบ #60 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 09:32:02 am » |
|
นางสาวสุนิสา หมอยาดีเลขที่ 74 รหัส 115310903055-7 sec 02 วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 9.32 น. สถานที่ บ้าน วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอม เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็น อย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #61 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 10:56:00 am » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า รหัส115310903038-3 เลขที่61 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.51 น. สถานที่บ้านของตนเอง เนื้อหาที่ได้ คือ ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
amnuay cve2
|
 |
« ตอบ #62 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 04:15:09 pm » |
|
 กระผมนาย อำนวย เกิดโภคา นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธา SEC 17 เลขที่ 10 รหัส 115340411116-9 อาจารย์ผู้สอน ผศ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่5/2/2554 ที่บ้าน เวลา 16.15น.  สรุปได้ว่า เมื่อการทดลองประสบความสำเร็จ สหรัฐอเมริกาก็เตรียมที่จะใช้อาวุธมหาประลัยนั้นเผด็จศึกญี่ปุ่น โดย 3 ผู้นำของชาติพันธมิตร ได้แก่ ประธานาธิบดี ทรูแมน แห่งสหรัฐฯ นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล แห่งอังกฤษ และสตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต ได้ประชุมกันที่เยอรมันนี และได้ยื่นคำขาดให้ญี่ปุ่นยอมจำนน แต่ญี่ปุ่นไม่สนใจ ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงใช้วิธีการขั้นเด็ดขาด โดยผู้ที่ต้องตัดสินใจครั้งสำคัญนี้ คือ แฮร์รี่ ทรูแมน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสหรัฐฯเป็นประเทศที่ผลิตและครอบครองระเบิดปรมณู จากการพิจารณาครั้งนั้น ได้มีเสียงคัดค้านจากคนในชาติ บางส่วนที่เคร่งในศีลธรรม แต่ในที่สุด ประธานาธิบดี ทรูแนม ก็ได้ประกาศิตชะตากรรมของเมืองฮิโรชิมา และนางาซากิในเวลาถัดมา โดยคำสั่งทิ้งระเบิด และพลิกหน้าประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติ เข้าสู่ยุคนิวเคลียร์อย่างเต็มตัว โครงการแมนแฮตตัน ใช้เงินทุนทั้งสิ้น กว่า 20,000 ล้านดอลลาร์ เมื่อสงครามยุติโครงการนี้มีเจ้าหน้าที่ในโครงการถึง 5000 คน พลานุภาพของระเบิดนิวเคลียร์ ทำให้นานาประเทศต่างอยากได้มาครอบครอง เพื่อความได้เปรียบยามสงคราม และต่อมาประเทศต่างๆ ก็ได้มีการคิดค้น และพัฒนา สะสมอาวุธนิวเคลียร์ กันมากขึ้น แต่ก็ยังไม่ปรากฎว่าเคยมีการใช้ในการสงครามกันอีกเลย คงมีไว้เพียงเพื่อสร้างความหวั่นไหว และข่มขู่ฝ่ายตรงข้าม
|
|
|
|
rungarun
|
 |
« ตอบ #63 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:12:48 pm » |
|
นายรุ่งอรุณ แย้มประดิษฐ์ รหัส 1153404412468 เลขที่ 36 sec 17 คณะวิศวะกรรมศาสตร์อุตสาหการ-การจัดการ วันที5กุมภาพันธ์ 2554 เวลา17.13 ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
iinuyashaa
|
 |
« ตอบ #64 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:40:45 pm » |
|
นางสาววิภวานี แสงทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเคมี sec 02 รหัส 115210902118-6 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 5/2/2554 ที่บ้าน เวลา 17:40 น.
สรุปได้ว่า
วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ.1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
siwasit ridmahan
|
 |
« ตอบ #65 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 05:53:29 pm » |
|
นาย สิวะสิทธิ์ ฤทธิ์มะหันต์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 115340441244-3 เลขที่ 33 sec.17 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17.53 น. ณ ร้านเน็ต
จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #66 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 06:46:52 pm » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 05/02/2554 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 18.46 น.
โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดนรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์
|
|
|
|
kodchaporn
|
 |
« ตอบ #67 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 07:30:20 pm » |
|
น.ส กชพร เพ็งคำเส็ง นศ.วิศวกรรมเกษตร-สาขาอาหาร sec02 เลขที่29 รหัส 115210417059-0 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 5 ก.พ. 2554 เวลา 19.30 น. สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า... วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
m_japakiya
|
 |
« ตอบ #68 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 05, 2011, 11:03:47 pm » |
|
นาย มูฮำหมัดนาวี จะปะกียา เลขที่ 2 sec 17 รหัส 115340411104-5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา ณ บ้าน จรัญสนิทวงศ์ 05-02-54 เวลา 23.03 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
sasithorn
|
 |
« ตอบ #69 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 11:14:10 am » |
|
นางสาว ศศิธร ลิ่มสกุล sec02 รหัส 1153109030102 เลขที่ 49 วันที่ 6/2/54 เวลา 11.14 ณหอใน นิลส์ บอร์ นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก กลับไม่ค่อยจะเห็นด้วยนักกับทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด และได้ทำการค้นคว้าวิจัย และปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
Kamphon
|
 |
« ตอบ #70 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:12:27 pm » |
|
นายกัมพล มิ่งฉาย นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ เรียนกับผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 6-2-2011 เวลา 15.12 น. ที่วิทยบริการ นิลส์ บอร์ นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก กลับไม่ค่อยจะเห็นด้วยนักกับทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด และได้ทำการค้นคว้าวิจัย และปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจร เฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
pitak
|
 |
« ตอบ #71 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:24:01 pm » |
|
นายพิทักษ์ นงนวล รหัส 115330411018-8 sec 04 เลขที่ 15 ตอบกระทู้ที่ สวนสุทธิพันธ์ วันที่ 06/02/2554 เวลา 15.24 น. สรุปได้ว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
Thaweesak
|
 |
« ตอบ #72 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 03:48:04 pm » |
|
นายทวีศักดิ์ ธนทรัพย์ทวี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส115330411008-9sec 04 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/54 เวลา15.48 สถานที่หอมาลีแมนชั่น โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดนรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์
|
|
|
|
Jutamat
|
 |
« ตอบ #73 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 04:54:04 pm » |
|
น.ส. จุฑามาศ เชื้ออภัย นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี sec.02 เลขที่ 44 รหัสนักศึกษา 115210904056-6 ผู้สอน อาจารย์จรัส บุญยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/54 ณ หอพักสวัสดิการนักศึกษา มทร.ธัญบุรี เวลา16.54น. สรุปว่า
โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดยรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์
|
|
|
|
civil kang
|
 |
« ตอบ #74 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 06:42:12 pm » |
|
นาย สราวุฒิ ดีดวงพันธ์ 115330411028-7 sec 4 วิศวกรรมโยธา วันที่ 6/2/2554 18:42 อน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
KanitaSS
|
 |
« ตอบ #75 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 10:09:07 pm » |
|
นางสาวคณิตา สุดจิตร์ นศ.คณะวิทยาศาสตร์สาขาสถิติประยุกต์ Sec2 รหัส115310903030-0เลขที่53 วันที่06/02/54 เวลา22.08น.สถานที่บาน็อฟฟี่ เพลส สรุปได้ว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
suchart
|
 |
« ตอบ #76 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 06, 2011, 10:33:56 pm » |
|
กระผม นายสุชาติ สุวรรณวัฒน์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ sec.02 เลขที่ 31 รหัส 115210441230-7 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 6/02/2554 ที่ หอพัก เวลา 22.34 น. ความคิดเห็นว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
tum moment
|
 |
« ตอบ #77 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 12:09:22 pm » |
|
 นายกิติศักดิ์ รัตนมณี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา 53341CVE sec.4 รหัสประจำตัว 115330411027-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พศ.2554 ที่หอพักมณีโชติ เวลา 12.10น. วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอม เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็น อย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
thabthong
|
 |
« ตอบ #78 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 03:41:45 pm » |
|
กระผมนาย รัตชานนท์ ทับทอง นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441203-0 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 15.41 น. ที่วิทยะ สรุปได้ว่า... วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
waranya
|
 |
« ตอบ #79 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 08:00:05 pm » |
|
นางสาววรัญญา สิงห์ป้อม sec.02 เลขที่ 69 รหัส 115310903049-0 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ วันที่ 7/02/54 เวลา 19.56 น. ณ หอศุภมาศ
วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอม เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็น อย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #80 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 11:08:11 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ เลขที่ 36 รหัส 115210452022-4 sec 2 ตอบกระทู้วันที่ 7 ก.พ 2554 เวลา 23.08 ที่หอพัก
โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดนรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์
|
|
|
|
sarayut
|
 |
« ตอบ #81 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 11:38:15 pm » |
|
นาย ศรายุทธ เที่ยงแท้ วิศวกรรมโยธา 115330411001-4 เลขที่ 1 วันที่7/02/54 เวลา 23.38 ที่ หอพัก อน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
kitima
|
 |
« ตอบ #82 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2011, 11:45:42 pm » |
|
นางสาวกิติมา รัตโนทัย sec 02 เลขที่ 16 รหัส 115110903001-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 07/02/2554 เวลา 23.45 น. สถานที่ zoom สรุปได้ว่า วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
TanGMe
|
 |
« ตอบ #83 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 11:18:57 am » |
|
นางสาวภัทรพร ผลอำไพ รหัสนักศึกษา 115110417062-6 เลขที่ 9 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 11.18 น. ที่หออยู่บ้านแมนชั่น ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่ สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้ เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและ พลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อ มา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอม ประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์ โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #84 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 11:54:09 am » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 115310903036-7 เลขที่ 59 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 8 ก.พ 54 เวลา 11.54 น. สถานที่ บ้านคลอง 6 สรุปได้ว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #85 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 01:33:07 pm » |
|
นางสาวณัฐพร พิศนุ sec 02 เลขที่ 17 รหัส 115110903030-4 วันที่ 08/02/2554 เวลา 13.33 น. สถานที่ หอ ZOOM สรุปได้ว่า วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
nuubuoe
|
 |
« ตอบ #86 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 01:37:58 pm » |
|
นางสาวจรีรัตน์ ชะโปรัมย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคดนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903040-9 sec.02 เลขที่ 63 ตอบกระทู้เมื่อ 08/02/45 เวลา13.37 น.ที่บ้าน  สรุปได้ว่า วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
chaiwat
|
 |
« ตอบ #87 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 01:55:52 pm » |
|
กระผมนายชัยวัฒน์ คำพันเกิด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาครุศาสตร์เครื่องกล รหัส 115011113029-2 sec.02 เลขที่ 3 ได้เข้าตอบกระทู้วันที่ 8/02/2554 เวลา 13.54 น. ที่หอพักโอนิน5 สรุปได้ว่า ในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Bifern
|
 |
« ตอบ #88 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 03:21:48 pm » |
|
นางสาวชลทิพย์ เปาทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ เลขที่ 48 รหัสนักศึกษา 115310903007-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/02/2554 เวลา 15.22 สถานที่ บ้านตัวเอง สรุปได้ว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
alicenine
|
 |
« ตอบ #89 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 04:51:55 pm » |
|
นายเลิศศักดิ์ ศัลยวิเศษ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452021-6 เลขที่ 35
ตอบกระทู้ เมื่อ 08/02/54 เวลา 16.52 น. ที่ หอพัก
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
|