saowapha
|
 |
« ตอบ #90 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 04:54:35 pm » |
|
นางสาวเสาวภา ล่วงพ้น คณะวิทยาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรื เลขที่ 14 รหัส 115110901082-7 sec. 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8/2/54 เวลา 17.10 น. ณ.ร้านเน็ต
มีความคิดเห็นว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
sarisa
|
 |
« ตอบ #91 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 04:55:35 pm » |
|
นางสาว สาริศา พรายระหาญ เลขที่ 13 รหัส115110901018-1 sec.02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา คณิตศาสตร์ เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17.11น. ณ ร้านเน็ต
ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
pool
|
 |
« ตอบ #92 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 07:35:11 pm » |
|
นางสาวดาวประกาย แก้วเรือง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452059-6 SEC 2 เลขที่ 37 เรียนกับ อาจารย์จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 19.35 น. ที่บ้าน มีความเห็นในกระทู้ว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใดต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
soawanee
|
 |
« ตอบ #93 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 07:44:11 pm » |
|
นางสาวเสาวณีย์ อนันต์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ เลขที่ 72 รหัสนักศึกษา 1153109030532 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/02/2554 เวลา 19.43 สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง ข้อความเมื่อ: วันนี้ เวลา 01:55:52 pmข้อความโดย: chaiwat
|
|
|
|
Pratanporn
|
 |
« ตอบ #94 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 08:42:53 pm » |
|
นายประทานพร พูลแก้ว นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 75 รหัส 115310903057-3 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/02/2554 เวลา 20:38 สถานที่ บ้าน ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อ มาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์ โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #95 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 09:48:21 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว เลขที่ 45 sec 02 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 8/02/54 เวลา 21.47 สถานที่ บ้าน
ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
ยุพารัตน์ หยิบยก
|
 |
« ตอบ #96 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:05:03 pm » |
|
นางสาวยุพารัตน์ หยิบยก นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ sec2 รหัสประจำตัว 115110901011-6 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Piyarat Mounpao
|
 |
« ตอบ #97 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:14:14 pm » |
|
น.ส.ปิยะรัตน์ เหมือนเผ่า เลขที่ 42 รหัส 115210904050-9 กลุ่ม02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา วันที่08/02/54 เวลา 22.14 น. สถานที่ บ้าน วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง : 
|
|
|
|
Eakachai_ie
|
 |
« ตอบ #98 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:22:20 pm » |
|
นายเอกชัย สงวนศักดิ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ รหัส 115040441086-4 Sec 02 เลขที่ 6 ตอบกระทู้วันที่ 8/02/54 เวลา 22:21 น. ที่หอมาลีแมนชัน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
toonpccphet
|
 |
« ตอบ #99 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 10:23:23 pm » |
|
นายสุรเชษฐ ทองโฉม นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 65 รหัส 115310903044-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 08/02/2554 เวลา 22:23 ณ บ้าน ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
Thatree Srisawat
|
 |
« ตอบ #100 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 11:14:20 pm » |
|
นายธาตรี ศรีสวัสดิ์ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา สถิติประยุกต์ sec 02 รหัส 115310903061-5 เลขที่ 77 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554เวลา23.13น. ที่บ้าน สรุปว่า ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
siripornmuay
|
 |
« ตอบ #101 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2011, 11:15:03 pm » |
|
น.ส ศิริพร สนเผือก เลขที่ 70 sec 02 รหัส 115310903051-6 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 8/02/54 เวลา 11.12 สถานที่ บ้าน
ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Chanon_non26
|
 |
« ตอบ #102 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 11:39:02 am » |
|
ชานนท์ พงษ์ไพโรจน์ รหัส 115310903029-2 เลขที่ 52 sec2 เวลา 11:38 วันที่ 9/2/54 ;วิทยบริการ จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
pollavat
|
 |
« ตอบ #103 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 12:02:36 pm » |
|
นายพลวัฒน์ คำกุณา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส115330441219-6 sec 04 เรียนกับอาจารย์ ผศ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เวลา 12:02 สถานที่ หอพัก ZOOM มีความคิดเห็นว่า : ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
titikron
|
 |
« ตอบ #104 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:00:31 pm » |
|
นายฐิติกร แก้วประชา รหัส 115330411022-0 เลขที่ 17 sec 4 วิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง วันที่ 09/02/54 เวลา 15.58 น. หอโฟร์บี จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Sonthaya Suwaros
|
 |
« ตอบ #105 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:07:24 pm » |
|
นายสนธยา สุวรส นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมอุตสาหกรรม รหัสประจำตัว 115040441089-8 วันที่ 09 ก.พ. 54 เวลา 16.10 น.ครับผม สรุปโครงการแมนแฮตตันได้ว่า ในปี ค.ศ.1942 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้อนุมัตโครงการวิจัย และพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์อย่างเป็นทางการ โดยใช้ชื่อว่า "โครงการแมนแฮตตัน" อันเป็นความร่วมมือระหว่างสหรัฐฯและอังกฤษ โดยอังกฤษได้ถอนตัวในปลายปีนั้นเอง และเมื่อได้ทุนอุดหนุนอย่างเป็นชิ้นเป็นอัน งานวิจัยของเฟอร์มีก็รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว และเมื่อมีทีมงานมากขึ้น สถานที่ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียก็เริ่มคับแคบ จึงได้ย้ายไปที่มหาวิทยาลัยชิคาโก เมื่อปลายปี ค.ศ. 1942 ขณะนั้นมีนักวิทยาศาสตร์ร่วมงานกับเฟอร์มี ประมาณ 40 คน ต่อมาในวันที่ 9 ธันวาคม ปีเดียวกัน เครื่องปฎิกรณ์นิวเคลียร์ที่สร้างปฎิกิริยาลูกโซ่ ก็ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก โดยประกอบด้วย ยูเรเนียม และกราไฟต์ วางกองสลับกันเป็นกองใหญ่มหึมา โดยใช้ยูเรเนียมถึง 7 ตัน ใช้แท่งแคดเมียมเป็นตัวหยุดปฎิกิริยาในกรณีที่ปฎิกิริยาลูกโซ่เกิดขึ้นมากเกินไป จนอาจจะเกิดอันตราย เมื่อสามารถสร้าง และควบคุมปฎิกิริยาลูกโซ่ได้แล้ว ต่อไปก็นำความรู้เหล่านั้นมาพัฒนาให้เป็นอาวุธ โดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในขณะนั้น ได้หาสถานที่สำหรับโครงการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ โดยอยู่ที่ลอสอลาโมส ในรัฐนิวเม็กซิโก ใกล้ๆกับเมืองซานตาเฟ เพราะแถบนั้นเป็นตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งในฤดูหนาวอากาศจะไม่หนาวมากนัก ยังสามารถทำงานวิจัยได้ และยังห่างไกลจากทะเล ยากแก่การถูกต่างชาติบุกรุก และห่างไกลผู้คน สามารถรักษาความลับของโครงการได้ดี โครงการที่ลอสอลาโมสนี้มีชื่อว่า "โครงการวาย" โดยมี เจ.รอเบิร์ต ออป เพนไฮเมอร์ เป็นผู้อำนวยการ และเฟอร์มีเป็นที่ปรึกษา โครงการแมนแฮตตันเป็นโครงการทางวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด เท่าที่เคยมีมาในยุคนั้น เพราะเป็นการร่วมมือกันทั้งฝ่ายวิทยาศาสตร์ การเมือง และการทหาร โดยฝ่ายวิทยาศาสตร์นั้นได้รวมรวบเอา นักวิทยาศาสตร์และวิศวกร ชั้นหัวกะทิเอาไว้เป็นจำนวนมาก ครับ...
|
|
|
|
shanon_ie
|
 |
« ตอบ #106 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 04:08:45 pm » |
|
นาย ชานนท์ วรรณพงษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ รหัส115040441083-1 sec 2 เลขที่ 5 เรียนกับอาจารย์ ผศ. จรัส บุณยธรรมาเข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เวลา 16.10 สถานที่ หอพัก
จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
somkid-3212
|
 |
« ตอบ #107 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 05:36:59 pm » |
|
นาย สมคิด กุลสุวรรณ รหัส 115330411033-7 กลุ่ม CVE 53341 โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดนรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์ 
|
|
|
|
Phatcharee
|
 |
« ตอบ #108 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 07:05:13 pm » |
|
 นางสาวพัชรี มากพิ้ม เลขที่ 18 รหัส 115110903048-6 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 /02/2554 เวลา 19.05 สถานที่ บ้าน สรุปได้ว่า ....... โครงการแมนแฮตตัน เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของอเมริกา โดยได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกได้แก่ 1.ลูกแรกในแผนปฏิบัติการ ทรินนิที 2.ลูกที่ 2 คือระเบิดนิวเคลียร์ของลิตเติลบอย 3.ลูกที่ 3 คือระเบิดนิวเคลียร์ของแฟตแมน โดนรวบรวมข้อมูล ทฤษฏีต่างๆ จากนักวิทยาศสาสตร์
|
|
|
|
shanonfe11
|
 |
« ตอบ #109 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 07:13:54 pm » |
|
นายชานนท์ ชุมพร รหัส 115210417028-5 sec.02 เลขที่ 25 ณ หอฟ้าใสแมนชั่น ตอบกระทู้วันที่ 09/02/54 เวลา 19.14 น. สรุปได้ว่า วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้ เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็น อย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
ittiwat
|
 |
« ตอบ #110 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 07:17:18 pm » |
|
นายอิทธิวัตร จิตต์มั่นคงกุล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ รหัส 115310903037-5 เลขที่ 60 sec 2 วันที่ 9/02/54 เวลา 19.04 น. สถานที่ บ้าน วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
NISUMA
|
 |
« ตอบ #111 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 08:05:53 pm » |
|
นางสาวนิสุมา พรมนวล รหัส115110901010-8 เลขที่8 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาคณิตศาสตร์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554
วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #112 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:05:43 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 41 คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา อาจารย์ผู้สอนจรัส บุญธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวัน 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 21:05 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom สรุปได้ว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียวแต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
Nhamtoey
|
 |
« ตอบ #113 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:17:13 pm » |
|
นางสาวเรวดี จันท้าว ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 04 รหัส 115330411006-3 เลขที่ 6 ตั้งกระทู้วันที่ 9/02/2554 เวลา 21.13น. ที่ หอพักโอนิน5
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
00sunisa00
|
 |
« ตอบ #114 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:42:24 pm » |
|
น.ส.สุนิศ่า ชมมิ sec.2 เลขที่ 46 115310903001-1 สาขาสถิติ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 21.38 น. ณ ร้านอินเตอร์เน็ต
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
Benjawan Onnual
|
 |
« ตอบ #115 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:50:17 pm » |
|
นางสาวเบญจวรรณ อ่อนนวล เลขที่ 55 sec 02 สาขาสถิติประยุกต์ ตอบกระทู้เมื่อ 9/2/2554 เวลา 21.49 น. ณ หอพักนำรงค์แมนชัน
ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
ronachai
|
 |
« ตอบ #116 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:52:14 pm » |
|
นาย รณชัย รุกขวัฒน์ วิศวกรรมโยธา 115330411002-2 sce 4 กะทู้เมื่อ 9 ก.พ. 2554 เวลา 21.53 น. ณ หอ เลิศวิจิตร ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
dararat
|
 |
« ตอบ #117 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 09:55:59 pm » |
|
นางสาวดารารัตน์ นิรันต์เรือง รหัส 115210904035-0 sec 02 เลขที่ 41 คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี สาขาชีววิทยา อาจารย์ผู้สอนจรัส บุญธรรมา เข้ามาตอบกระทู้เมื่อวัน 9 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 21:55 ณ ห้องพักส่วนตัว ซ.zoom ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Pathomphong
|
 |
« ตอบ #118 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 11:09:50 pm » |
|
นายปฐมพงศ์ พูนปก รหัส 115330411043-6 เลขที่ 36 sec 04 วิศวกรรมโยธา เรียนกับอาจารย์จรัส บุญยธรรมา วันที่ 09/02/54 เวลา 23.09 น. ที่หอลากูน สรุปได้ว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Survivor666
|
 |
« ตอบ #119 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 11:10:27 pm » |
|
นายสร้างสรรค์ วงศ์ฉลาด 115110905018-7 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ รหัสประจำตัว 115110905018-7 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 09/02/54 ที่ หอพัก เวลา. 23.10 น มีความเห็น โครงการแมนแฮตตัน พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
|