watcharich
|
 |
« ตอบ #120 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 11:15:00 pm » |
|
ผมนายวัชริศ สุจินตกาวงศ์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115040411037-3 sec.02 เลขที่ 4 เข้ามาโพสท์ วันที่ 9 ก.พ. 54 เวลา 23.07 น. ที่ บ้าน สรุปว่า ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Tarintip
|
 |
« ตอบ #121 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 09, 2011, 11:41:44 pm » |
|
นางสาวธารินทิพย์ วรรณกลาง นักศึกษาคระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ sec02 เลขที่ 66 ตอบกระทู้วันที่ 9/02/54 เวลา 23.37 สถานที่ หอใน ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรกต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
kranjana
|
 |
« ตอบ #122 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 01:04:08 am » |
|
นางสาวกาญจนา แสงวงศ์ รหัส 115210904068-1 sec2 เลขที่ 45 สถานที่หอใน วันที่ 9/2/2554 เวลา 1.04 ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #123 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:33:29 am » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
boatvivi
|
 |
« ตอบ #124 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:05:41 pm » |
|
นางสาวณัฎฐพร ชื่นสมบัติ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ sec 02 เลขที่ 1 เวลา 15.06 น. วันที่ 10 ก.พ. 2554
ได้เข้ามาอ่านกระทู้นี้แล้วค่ะ
|
|
|
|
sarayut sringam
|
 |
« ตอบ #125 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:18:59 pm » |
|
กระผมนายศรายุธ สีงาม นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 4 รหัส 115330441201-4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ ตึกวิทยบริการ เวลา 15.19 น มีความคิดเห็นว่า เมื่อการทดลองประสบความสำเร็จ สหรัฐอเมริกาก็เตรียมที่จะใช้อาวุธมหาประลัยนั้นเผด็จศึกญี่ปุ่น โดย 3 ผู้นำของชาติพันธมิตร ได้แก่ ประธานาธิบดี ทรูแมน แห่งสหรัฐฯ นายกรัฐมนตรี เชอร์ชิล แห่งอังกฤษ และสตาลิน แห่งสหภาพโซเวียต ได้ประชุมกันที่เยอรมันนี และได้ยื่นคำขาดให้ญี่ปุ่นยอมจำนน แต่ญี่ปุ่นไม่สนใจ ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงใช้วิธีการขั้นเด็ดขาด โดยผู้ที่ต้องตัดสินใจครั้งสำคัญนี้ คือ แฮร์รี่ ทรูแมน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เนื่องจากสหรัฐฯเป็นประเทศที่ผลิตและครอบครองระเบิดปรมณู จากการพิจารณาครั้งนั้น ได้มีเสียงคัดค้านจากคนในชาติ บางส่วนที่เคร่งในศีลธรรม แต่ในที่สุด ประธานาธิบดี ทรูแนม ก็ได้ประกาศิตชะตากรรมของเมืองฮิโรชิมา และนางาซากิในเวลาถัดมา โดยคำสั่งทิ้งระเบิด และพลิกหน้าประวัติศาสตร์ของมนุษย์ชาติ เข้าสู่ยุคนิวเคลียร์อย่างเต็มตัว
|
|
|
|
leonado_davinci
|
 |
« ตอบ #126 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 04:58:50 pm » |
|
Jakrapong Mensin นายจักรพงศ์ เม่นสิน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411015-4 sec 4 เลขที่ 12 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/2/54 เวลา 4.58 pm ที่ห้องสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สรุปว่า.. จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
oOGIG...k}
|
 |
« ตอบ #127 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 05:27:11 pm » |
|
ผมนายชำนาญกิจ ศิริยานนท์ รหัส 115330411004-8 เลขที่ 4 sec.4 วิศวกรรมโยธา เวลา 05:27:09 pm วันที่ 10/2/54
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
potchapon031
|
 |
« ตอบ #128 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 06:26:32 pm » |
|
นาย ภชพน เกตุวงศ์ เลขที่ 25 รหัส 115330411031-1 sec.04 วันที่ 10/02/2554 วิศวกรรมโยธา เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณญธรรมา สถานที่ กิตติพงศ์ แมนชั่น เวลา 18.25น.
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมที่เป็นรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎี อะตอมของดาลตัน ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1803 โดยได้กล่าวไว้แต่เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร ในปีค.ศ. 1897 เจ.เจ. ทอมป์สัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ. 1905 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Pichat Soysamrong
|
 |
« ตอบ #129 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 06:33:47 pm » |
|
กระผม นาย พิเชษฐ์ สร้อยสำโรง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec. 04 รหัสประจำตัว 115330411003-0 เลขที่ 3 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ที่ เศรษฐบุตร พาวิลเลี่ยน 32/19 ม. 1 ต. คลองหก อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี เวลา 18.33 น. สรุปได้ว่า ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
PoxyDonZ
|
 |
« ตอบ #130 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 06:40:38 pm » |
|
นาย สุรศักดิ์ ด้วงใจจิตร รหัส 115330411036-0 วิศวกรรมโยธา เวลา 06.40 pm. วันที่ 10 ก.พ. 54 สถานที่ หอร์ โฟร์บี 2
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับอะตอมรูปธรรมแรกสุด คือทฤษฎีอะตอมของดาลตัน โดยกล่าวไว้เพียงว่า อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของสสาร เจ.เจ.ทอมป์สัน ได้ค้นพบอนุภาคอิเล็กตรอนที่เป็นส่วนประกอบของอะตอมได้เป็นครั้งแรก ต่อมาอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC-squared ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง นิลส์ บอร์ ปรับปรุงทฤษฎีของ รัทเทอร์ฟอร์ด ให้สมบรูณ์ขึ้น โดยบอร์ได้ค้นพบว่า อิเล็กตรอน ไม่ได้โคจรรอบนิวเคลียสในลักษณะที่มีวงโคจรเฉพาะตัวเหมือนดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ อย่างที่รัทเทอร์ฟอร์ดเข้าใจ แต่อิเล็กตรอน จะโคจรรอบอิเล็กตรอนอย่างรวดเร็ว และสามารถเปลี่ยนระดับชั้นของวงโคจรได้ ทำให้เกิดเสถียรภาพของระดับพลังงาน
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #131 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 06:49:02 pm » |
|
กระผมนายนัฐพล การคณะวงศ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 รหัส 115330441206-3 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ หอดู๊ดดรีม เวลา 18.52 น. คือ ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
mongkhonphan
|
 |
« ตอบ #132 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 10:07:15 pm » |
|
นายมงคลพันธ์ แซ่หลี วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411039-4 sec.04 เลขที่ 32 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10/02/2554 เวลา 22.06 น. ที่ หอลากูน
จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลีไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมรวงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Meena
|
 |
« ตอบ #133 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 10:11:12 pm » |
|
นายพสิษฐ์ แดงอาสา รหัส 115330411011-3 sec.4 วิศวกรรมโยธา วันที 10/2/54 เวลา น. 22.10ณ บ้านเลขที่ 231/135
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
Thamanoon
|
 |
« ตอบ #134 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 10:28:56 pm » |
|
ผมนายธรรมนูญ พุทธวงษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา sec 04 รหัส 115330411009-7 เลขที่ 9 เรียนกับ อ. จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 ที่บ้านเช่า ซอยอีสเทิร์น เวลา 22.29 น. มีความเห็นว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
ratthasart
|
 |
« ตอบ #135 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 11:05:28 pm » |
|
ผมนายรัฐศาสตร์ ไชยโส นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.4 รหัส 115330441218-8 เลขที่ 61 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 23.10น. ที่ ห้องพัก มีความคิดเห็นว่า ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงาน มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับ แรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มี ใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงาน การค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
ponyotha
|
 |
« ตอบ #136 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 11:38:26 pm » |
|
ผมนายวีรพล นุ่มน้อย เลขที่ 11 115330411014-7 sce 4 วิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง วันที่ 10/02/2554 เวลา 23.38 น. อยู่เจริญแมนชั่น พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
ศราวุธ พูลทรัพย์
|
 |
« ตอบ #137 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 11:46:29 pm » |
|
กระผมนายศราวุธ พูลทรัพย์ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411042-8 เลขที่ 35 sec 04 เรียนกับอาจารย์จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้นี้ที่หอลากูล วันที่ 10/2/2554 เวลา 23.46น พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายด้วยโดยสมการ E=Mc^2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ประกาศไว้ก่อนหน้านี้มันไม่ได่เป็นเรื่องเหลวไหล
|
|
|
|
ณัฐพงษ์ สันทะ
|
 |
« ตอบ #138 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 12:41:38 am » |
|
กระผม นาย ณัฐพงษ์ สันทะ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมอุตสาหการ - การจัดการ sec 4 รหัสประจำตัว 115330441216-2 เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่_10 เดือน_02 พศ_2554 ที่(ชื่อหอพัก/ชื่อบ้านพัก)_ประสงค์ เวลา_00.39 มีความเห็นว่า/มีข้อคิดเห็นว่า/ความรู้จากเนื้อหาที่ได้ คือ
พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
aek cve rmutt
|
 |
« ตอบ #139 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 03:51:09 am » |
|
นาย เอกชัย เสียงล้ำ 115330411046-9 sec 4 วิศวกรรมโยธา กลุ่ม 53341 เวลา 3.50 จากปรากฎการณ์ดังกล่าวทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานเกิดขึ้น คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา วงการฟิสิกส์ในยุโรปและในสหรัฐอเมริกาต่างก็พัฒนาความรู้เกี่ยวกับอะตอมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักฟิ สิกส์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ได้พบว่า ในนิวเคลียสของอะตอมนั้น ไม่ได้มีแต่เพียงอนุภาคโปรตอนซึ่งมีประจุบวกเท่านั้น แต่นิวเคลียสยังประกอบด้วยอนุภาคอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า คือไม่มีประจุ แชดวิกเรียกอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้ว่า นิวตรอน ซึ่งมีความหมายตามรากศัพท์ว่า เป็นกลาง การค้นพบนิวตรอนนี้ทำให้เกิดความก้าวหน้าขึ้นในวงการฟิสิกส์ด้านอะตอมเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ปัญหาที่เคยเป็นปริศนาหลายเรื่องได้รับการแก้ไขให้กระจ่าง
|
|
|
|
Suphakorn
|
 |
« ตอบ #140 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 06:18:33 am » |
|
กระผมนาย สุภากร หงษ์โต นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441211-3 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 06.18 น. ที่หอพัก gooddream มีความคิดเห็นว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
pisan mulchaisuk
|
 |
« ตอบ #141 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:09:49 am » |
|
กระผมนาย ไพศาล มูลชัยสุข นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัสนักศึกษา 115330441215-4 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 7.09 น. ที่หอพักเลิศวิจิตร มีความคิดเห็นว่า พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
pichet
|
 |
« ตอบ #142 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:13:34 am » |
|
กระผม นายพิเชษฐ์ จันทร์โสภา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411044-4 เลขที่ 37 วันที่ 11/02/54 เวลา 07.13 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
kangsachit
|
 |
« ตอบ #143 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 07:57:43 am » |
|
นายกังสชิต จิโน นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411017-0 sec 4 เลขที่ 14 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 11/2/54 เวลา 07.57 น. หอมาลีแมนชั่น พลังงานที่เปลี่ยนแปลงสามารถอธิบายได้ด้วยสมการ E = MC2 ของไอน์สไตน์ หมายถึงว่าที่ไอน์สไตน์ ประกาศไว้ก่อนหน้านี้นั้นไม่ได้เป็นเรื่องเหลวไหล แต่เป็นกุญแจที่ไขไปสู่การปลดปล่อยขุมพลังอันมหาศาลที่มีอยู่ในอะตอม ให้เป็นพลังงานนิวเคลียร์ไอน์สไตน์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1921 หลังจากฮิตเลอร์เรืองอำนาจ ไอน์สไตน์ ก็ลี้ภัยจากเยอรมันไปอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา
|
|
|
|
mypomz
|
 |
« ตอบ #144 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 08:33:10 am » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 11 ก.พ. 54 เวลา 8.33 สถานที่ หอพัก
ฟิสิกส์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว ได้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะขึ้น คือสมการ E = MC2 ความหมายของสมการนี้อธิบายได้ว่า มวลสารและพลังงานมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และที่สภาพเหมาะสมมวลสารสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานอันมหาศาลได้ มวลสารเพียงแค่ครึ่งกิโลกรัม จะให้พลังงานเท่ากับแรงระเบิด ทีเอ็นที ขนาด 10 ล้านตันเลยทีเดียว แต่ในสมัยนั้นไม่มีนักวิทยาศาสตร์ยอมรับทฤษฎีดังกล่าว เพราะเป็นเรื่องที่ล้ำยุคเกินกว่าจะเข้าถึง และไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า จะทำให้มวลสารปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมาได้โดยวิธีใด ต่อมา เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้นำผลงานการค้นพบของ ทอมป์สัน ไปค้นคว้าต่อ และเสนอแบบจำลองของอะตอมขึ้นว่า อะตอมประกอบด้วย อิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุลบโคจรรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นเอง
|
|
|
|
|