มกราคม 26, 2021, 01:47:51 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
หมวดหมู่ทั่วไป
>
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
>
กฎของโอห์ม
หน้า: [
1
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: กฎของโอห์ม (อ่าน 8675 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
กฎของโอห์ม
«
เมื่อ:
พฤศจิกายน 05, 2008, 09:07:56 pm »
โพสโดย ผู้ดูแลระบบ
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก
กฎของโอห์ม ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า และ ความต้านทาน ในวงจรไฟฟ้า กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวใดๆ แปรผันตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้า หรือแรงดันตกคร่อม) และแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้นที่กระแสไหลผ่าน
ในสูตรสมการทางคณิตศาสตร์, เขียนได้ดังนี้:
V = IR
โดยที่ V คือความต่างศักย์ มีหน่วยเป็น โวลต์, I คือกระแสในวงจร หน่วยเป็น แอมแปร์ และ R คือความต้านทานในวงจร หน่วยเป็น โอห์ม
สูตรการหาค่าต้านทาน
หาแรงดัน V= I * R
หากระแส I= V/R
หาค่าต้านทาน R = E/I
V= แรงดัน I เท่ากับกระแส R เท่ากับ ค่าต้านทาน
กฎดังกล่าวตั้งชื่อเป็นเกียรติให้กับ เกออร์ก โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ที่ตีพิมพ์ผลงานในปี พ.ศ. 2370 (ค.ศ. 1827) บรรยายการทดลองวัดค่าแรงดันและกระแสผ่านลวดความยาวต่าง ๆ กัน และอธิบายผลด้วยสมการ (ซึ่งซับซ้อนกว่าสมการบนเล็กน้อย)
ค่าความต้านทาน ของอุปกรณ์ต้านทาน เช่น ตัวต้านทาน มีค่าคงที่ ที่กระแสและแรงดันช่วงที่กว้าง เมื่อตัวต้านทานถูกนำมาใช้ในเงื่อนไขดังกล่าว เรียกตัวต้านทานนั้นว่า อุปกรณ์โอห์มิก (ohmic device) เพราะว่า เพียงค่าความต้านทานค่าเดียว ก็สามารถใช้อธิบายคุณสมบัติของอุปกรณ์นั้นได้ แต่ถ้าป้อนแรงดันที่สูงมาก อุปกรณ์ดังกล่าวจะสูญเสียคุณสมบัติ โอห์มิก ไป ซึ่งค่าความต้านทานมักสูงกว่าความต้านทานในสภาวะปกติ
ขอขอบคุณอาจารย์จรัส บุณยธรรมา ที่ได้ให้ผมได้ตั้งกระทู้ได้ครับ
100px-Ohms_law_voltage_source_svg.png
(1.7 KB, 100x100 - ดู 5382 ครั้ง.)
«
แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 01, 2009, 08:11:20 pm โดย สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
»
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: กฎของโอห์ม
«
ตอบ #1 เมื่อ:
พฤศจิกายน 01, 2010, 11:11:05 am »
กฎของโอห์ม:
ในปี ค.ศ. 1826 โอห์ม (George Simon Ohm) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ตั้งกฎเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีกว่า เป็นพื้นฐานทาง ไฟฟ้า กฎนี้มีใจความว่า "เมื่ออุณหภูมิของตัวนำคงที่ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างปลายทั้งสอง ของตัวนำนั้น)
จากกฎนี้ ถ้า I เป็นกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ ซึ่งมีความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองเป็น v ซึ่งจะเขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
V = RI (R = ค่าคงที่)
ซึ่งค่าคงที่ ก็คือ ค่าความต้านทานของตัวนำนั้นๆ ดังนั้น กฎของโอห์ม คือ
V = IR
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
Re: กฎของโอห์ม
«
ตอบ #2 เมื่อ:
พฤศจิกายน 01, 2010, 11:11:32 am »
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า
สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า.jpg
(17.73 KB, 381x323 - ดู 21867 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
lor_lexCVE2
อภิมหาเทพ
ออฟไลน์
กระทู้: 73
Re: กฎของโอห์ม
«
ตอบ #3 เมื่อ:
ธันวาคม 12, 2010, 05:46:56 am »
นายสุรพงษ์ จำปานาค นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา sec 17 เลขที่ 5
เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา
ตอบกระทู้ เมื่อ 12/12/53 เวลา 5.47น. ที่หอพักราชมงคล
ในปี ค.ศ. 1826 โอห์ม (George Simon Ohm) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ตั้งกฎเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีกว่า เป็นพื้นฐานทาง ไฟฟ้า กฎนี้มีใจความว่า "เมื่ออุณหภูมิของตัวนำคงที่ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ จะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างปลายทั้งสอง ของตัวนำนั้น)
จากกฎนี้ ถ้า I เป็นกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำ ซึ่งมีความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองเป็น v ซึ่งจะเขียนความสัมพันธ์ได้เป็น
V = RI (R = ค่าคงที่)
ซึ่งค่าคงที่ ก็คือ ค่าความต้านทานของตัวนำนั้นๆ ดังนั้น กฎของโอห์ม คือ
V = IR
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า: [
1
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...