มกราคม 26, 2021, 01:29:07 pm
ยินดีต้อนรับคุณ,
บุคคลทั่วไป
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
1 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
1 เดือน
ตลอดกาล
เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว
:
หน้าแรก
ช่วยเหลือ
ค้นหา
ปฏิทิน
สมาชิก
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
RmutPhysics.com
>
หมวดหมู่ทั่วไป
>
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
>
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
หน้า: [
1
]
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED) (อ่าน 12696 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
«
เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:45:29 pm »
เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทางไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิก โฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode) เรียกย่อ ๆ ว่า LED คือ ไดโอดซึ่งสามารถเปล่งแสงออกมาได้แสงที่เปล่งออกมาประกอบด้วยคลื่นความถี่เดียวและเฟสต่อเนื่องกัน ซึ่งต่างกับแสงธรรมดาที่ตาคนมองเห็น อันประกอบด้วยคลื่นซึ่งมีเฟสและความถี่ต่าง ๆ ดันมารวมกัน ไดโอด ซึ่งสามารถให้แสงออกมาได้ ทั้งชนิดที่เป็นสารกึ่งตัวนำของเหลวก๊าซ ในที่นี้จะกล่าวถึงชนิดที่เป็นสารกึ่งตัวนำเท่านั้น
200px-Diodos_LED_foto.png
(18.24 KB, 200x188 - ดู 11140 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
parameter ต่างๆในการเลือกใช้ LED
«
ตอบ #1 เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:46:29 pm »
parameter ต่างๆในการเลือกใช้ LED
-color(Wavelength) :เป็นตัวบอกสี ซึ่งหมายถึงขนาดของความยาวคลื่นที่ LED เปล่งแสงออกมา
เช่น สีฟ้า จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 468nm
สีขาว จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 462nm
สีเหลือง จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 468nm
สีเขียว จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 565nm
สีแดง จะมีความยาวคลื่น ประมาณ 630nm
เป็นต้น
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
«
ตอบ #2 เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:49:07 pm »
ไดโอดชนิดนี้เหมือนไดโอดทั่ว ๆ ไปที่ประกอบด้วยสารกึ่งตัวนำชนิด P และ N ประกบกันมีผิวข้างหนึ่งเรียบเป็นมันคล้ายกระจก เมื่อไดโอดตกไบแอสตรงจะทำให้อิเลคตรอนที่สารกึ่งตัวนำชนิด N มีพลังงานสูงขึ้นจนสามารถวิ่งข้ามรอยต่อไปรวมกับโฮลใน P ต่อให้เกิดพลังงานในรูปของประจุโฟตอน ซึ่งจะส่งแสงออกมา การประยุกต์ LED ไปใช้งานอย่างกว้างขวางส่วนมากใช้ในภาคแสดงผล (display unit) LED โดยทั่วไปมี 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ LED ชนิดที่ตาคนเห็นได้กับชนิดที่ตาคนมองไม่เห็นต้องใช้ทรานซิสเตอร์มาเป็นตัวรับแสงแทนตาคน
LED.gif
(29.26 KB, 421x163 - ดู 8264 ครั้ง.)
LED PIC.gif
(6.64 KB, 169x86 - ดู 9181 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
«
ตอบ #3 เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:50:54 pm »
ไดโอดเปล่งแสงหรือ LED นี้สามารถนำไปใช้งานในการแสดงผลโดยทั่วๆ ไป ถ้าไม่ต้องการความสว่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับหลอดไฟธรรมดาแล้วจะเห็นว่าไดโอดเปล่งแสงนี้ สามารถทำงานโดยใช้แรงดันและกระแสไฟที่น้อยกว่ามาก ปกติจะใช้กระแสอยู่ช่วงระหว่าง 5 - 20 มิลลิแอมป์
การนำไดโอดเปล่งแสงมาใช้กับไฟสลับแรงดันต่ำ.gif
(7.83 KB, 350x235 - ดู 8775 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
«
ตอบ #4 เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:52:31 pm »
ไดโอดเปล่งแสงนี้มีรูปร่างและขนาดต่างๆกันตามการใช้งาน ไดโอดเปล่งแสงแบบหัวมน โดยปกติจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มิลลิเมตร และ 5 มิลลิเมตร ซึ่งทำด้วยพลาสติกโปร่งแสงดูตัวอย่างในรูปที่ 10 และถ้าเป็นแบบสี่เหลี่ยมจะมีขนาด 5*2 มิลลิเมตร มุมในการมองเห็นของไดโอดเปล่งแสงแบบหัวมนนี้จะอยู่ในช่วง 20 - 40 องศา แต่ถ้าเป็นไดโอดเปล่งแสงแบบสี่เหลี่ยมมุมในการมองเห็นจะเพิ่มขึ้นเป็นถึง 100 องศา
สัญลักษณ์และตัวถังของไดโอดเปล่งแสง.gif
(3.64 KB, 200x146 - ดู 10550 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
สุวัฒน์ หนูคีรี นักศึกษาวิศวอิเล็ก ผู้ดูแลระบบเว็บบอร์ด
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
สุดยอดสมาชิก
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 1545
นักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ELECTRONIC ราชมงคลธัญบุรี
ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode ย่อ LED)
«
ตอบ #5 เมื่อ:
ธันวาคม 08, 2008, 11:54:27 pm »
ปกติการใช้งานไดโอดเปล่งแสง สามารถคำนวณได้ดังสูตร R = VF คือ แรงดันตกคร่อมไดโอดเปล่งแสงขณะนำกระแส เพื่อความสะดวกในการคำนวณจะกำหนดค่า VF เท่ากับ 2 โวลต์ จะได้ค่าของตัวต้านทานที่ใช้ต่ออนุกรมกับไดโอดเปล่งแสงที่แรงดันต่าง ๆ ดังตารางข้างล่างนี้
ตัวอย่าง
สมมติว่าต้องการนำไดโอดเปล่งแสงไปใช้กับแรงดัน 21 โวลต์ และมีแรงดันตกคร่อมประมาณ 2.2 โวลต์ยอมให้กระแสผ่าน 15 มิลลิแอมป์ ลองคำนวณค่าของตัวต้านทานที่จะนำมาต่ออนุกรมกับไดโอดเปล่งแสง
จากสูตรข้างต้น
R = ค่าความต้านทานที่มีขายใกล้เคียงคือ 1.2 กิโลโอห์ม และค่ากำลังสูญเสียของตัวต้านทาน ก็สามารถประมาณได้จาก
P = I2R
= (15 mA)2 * 1.2 kW
= 0.27 W
ดังนั้นควรเลือกตัวต้านทานให้มีอัตรากำลังสูญเสียตั้งแต่ 0.5 วัตต์ขึ้นไป
เกร็ดไดโอดเปล่งแสง
- ข้อควรระวังอย่างหนึ่งในการใช้งานไดโอดเปล่งแสงก็คือ แรงดันย้อนกลับจะต้องมีค่า ไม่เกิน 5 โวลต์
- สำหรับการใช้งานบางอย่างที่ใช้กับแบตเตอรี่นั้น จะต้องดูจำนวนของไดโอดเปล่งแสง ที่ใช้ด้วย ถ้าต้องการให้ใช้ได้นานๆ ปกติจะกำหนดให้ไดโอดเปล่งแสงดวงหนึ่งกินกระแสเพียง 5 มิลลิแอมป์
- สำหรับไดโอดเปล่งแสงสีเหลืองและสีเขียวโดยปกติจะให้ความสว่างน้อยกว่าไดโอด เปล่งแสงสีแดงที่ระดับกระแสเท่ากัน ถ้าต้องการให้ระดับความสว่างออกมาเท่ากัน ในกรณีที่ใช้ไดโอดเปล่งแสงสีแตกต่างกัน จะต้องเปลี่ยนค่าตัวต้านทานจำกัด กระแสที่อนุกรม โดยคำนวณหาได้ตามสูตรปกติ จากนั้นลดค่าที่คำนวณได้ลงไปอีก 10-15 เปอร์เซ็นต์ แต่ก็ควรระวังปริมาณกระแสไฟฟ้าต้องไม่ให้เกินค่าทนได้สูงสุดที่กำหนดไว้ด้วย
วงจรใช้งานปกติของไดโอดเปล่งแสง.gif
(6.95 KB, 330x245 - ดู 8679 ครั้ง.)
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล
บันทึกการเข้า
หน้า: [
1
]
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
ฟิสิกส์ 1
-----------------------------
=> การวัด
=> เวกเตอร์
=> การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ
=> การเคลื่อนที่บนระนาบ
=> กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
=> งานและพลังงาน
=> การดลและโมเมนตัม
=> การหมุน
=> สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
=> การเคลื่อนที่แบบคาบ
=> ความยืดหยุ่น
=> กลศาสตร์ของไหล
=> ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
=> กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก
=> คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
=> การสั่นและคลื่น
=> เสียง
-----------------------------
ฟิสิกส์ 2
-----------------------------
=> ไฟฟ้าสถิต
=> สนามไฟฟ้า
=> ความกว้างของสายฟ้า
=> ศักย์ไฟฟ้า
=> ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน
=> กระแสไฟฟ้า
=> สนามแม่เหล็ก
=> การเหนี่ยวนำ
=> ไฟฟ้ากระแสสลับ
=> ทรานซิสเตอร์
=> สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ
=> แสงและการมองเห็น
=> ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
=> กลศาสตร์ควอนตัม
=> โครงสร้างของอะตอม
=> นิวเคลียร์
-----------------------------
วัสดูศาสตร์ (Material science)
-----------------------------
=> ความหมายของวัสดุศาสตร์
=> โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี
=> การจัตตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึก
=> การแข็งตัวของโลหะ ความไม่สมบูรณ์ของผลึก
=> คุณสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
=> สมบัติเชิงกลของโลหะ
=> วัสดุพอลิเมอร์
=> เฟสไดอะแกรม
=> โลหะ
=> วัสดุเซรามิก
=> การกัดกร่อน
=> เรืองอื่นๆทางวัสดุศาสตร์
-----------------------------
หมวดหมู่ทั่วไป
-----------------------------
=> คลังข้อสอบฟิสิกส์
=> อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
=> เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
=> สาระเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคม
=> ไฟฟ้าน่ารู้
=> สมาชิก แนะนำตัวที่นี่ครับ
=> ดาราศาสตร์
=> ธรรมะดีๆๆ สอนใจ
=> คณิตศาสตร์ E-BOOK
=> แคลคูลัส สำหรับวิศวกร ตัวอย่างโจทย์และข้อสอบเก่าๆ
=> คลายเครียด
=> สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ
=> สาระเกี่ยวกับพลังงาน และเชื้อเพลิง
=> สาระน่ารู้เรื่องน้ำดื่ม และกระบวนการ RO
=> ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่าน
=> อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
=> เรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับสเต็มเซลล์
=> แนะนำสมาชิก
=> แหล่งความรู้ทั่วไป
กำลังโหลด...