ฟิสิกส์ราชมงคล
|
 |
« เมื่อ: มิถุนายน 19, 2009, 08:57:02 pm » |
|
แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น และการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป คุณก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ คลิกครับ
|
|
|
|
siwapat
|
 |
« ตอบ #1 เมื่อ: มกราคม 09, 2011, 11:50:27 pm » |
|
ผมนายศิวภัทร์ รัตนสมบูรณ์ รหัส115330411024-6 sec.4 เลขที่18 วิศวกรรมโยธา วันที่9/1/54 เวลา 11.49 pm. ที่หอลากูลแมนชั่น แบตเตอรี่ กับเหรียญบาท ทำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้สียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น ทำการส่งได้ไกล แต่ถ้าเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและสลับกันไป คุณก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสองและแตะสายไฟทั้งสองใกล้เครื่องรับวิทยุ AM ก็จะได้ยินเสียงเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในที่มืดขณะที่แตะสายไฟ จะเห็นประการไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
sumintra
|
 |
« ตอบ #2 เมื่อ: มกราคม 14, 2011, 06:30:49 pm » |
|
นางสาวสุมินตรา งามสมบัติ เลขที่ 36 รหัส 115210452022-4 sec 2 ตอบกระทู้วันที่ 14 มกราคม 2554 เวลา 18.30 ที่หอพัก
มีความเห็นว่า...
การแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ คุณสามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
Sunti
|
 |
« ตอบ #3 เมื่อ: มกราคม 14, 2011, 10:03:33 pm » |
|
Sunti Civil นายสันติ บัวงาม นศ.วิศวกรรมโยธา รหัส 115330411021-2 Sec 4 เลขที่ 16 ตอบกระทู้วันที่ 14/01/54 เวลา 22:02 น. ณ. หอป้าอ้วน วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
Kotchapan
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 10:59:41 am » |
|
นาย คชพันธ์ พงษ์ไพร นศ.คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัสนักศึกษา 115330411048-5 เลขที่ 41 Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา วันที่ 15/01/2554 สถานที่ กิตติพงษ์แมนชั่น เวลา 10.59 น. หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
Penprapa
|
 |
« ตอบ #5 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 11:30:22 am » |
|
นางสาวเพ็ญประภา สุเพียร เลขที่ 40 รหัส 115210904029-3 กลุ่ม 2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตอบกระทู้เมื่อวันที่ 15 มค 54 เวลา 11.30 น. ณ วิทยะบริการ เครื่องรับวิทยุ AM มีขั้นตอนการรับสัญญาณ คือ 1. เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ 2. ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ กรณีตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ 3. หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
ศราวุธ พูลทรัพย์
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 01:44:02 pm » |
|
กระผมนายศราวุธ พูลทรัพย์ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411042-8 sec.04 เลขที่ 35 ตอบกระทู้ที่หอลากูล เวลา13.43 น วันที่ 15/1/2554 เรียนกับอาจารย์จรัส บุญยธรรมมา ในการใช้ วิทยุสมัยใหม่ เพื่อใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ ส่งข้อมูลข่าวสาร เสียง ภาพ และข้อมูล ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
kambio
|
 |
« ตอบ #7 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 01:47:49 pm » |
|
นางสาว นันทวัน มีชำนาญ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขา ชีววิทยา sec. 02 เลขที่ 43 รหัส 115210904052-5 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 15 ม.ค. 2554 สถานที่ บ้าน เวลา 13.46 น.
ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุ ส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ
|
|
|
|
tum moment
|
 |
« ตอบ #8 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 02:47:00 pm » |
|
 นายกิติศักดิ์ รัตนมณี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา 53341CVE sec.4 รหัสประจำตัว 115330411027-9 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา วันที่ 15 มกราคม พศ.2554 ที่หอพักมณีโชติ เวลา 14.45น. ด้วยการแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ คุณสามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้โดย - หาแบตเตอรี่ 9 โวลต์ และเหรียญบาทหนึ่งเหรียญ - หาวิทยุ AM สักเครื่อง และเปิดเครื่องไว้ - นำแบตเตอรี่ไปไว้ใกล้กับเสาอากาศวิทยุ และใช้เหรียญบาทแตะเข้ากับขั้วทั้งสองของแบต โดยใช้วิธีแตะเข้าออก - คุณจะได้ยินเสียงแคร็ก ในวิทยุ
|
|
|
|
mukkie
|
 |
« ตอบ #9 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 03:22:17 pm » |
|
นางสาว ปาณิศา ไพรสยม sec.2 เลขที่73 รหัสนักศึกษา 115310903054-0 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ ตอบกระทู้วันที่15ม.ค.54 เวลา15.17น. ที่บ้านตัวเอง ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ การแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ สามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้
|
|
|
|
natthapon
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 04:10:27 pm » |
|
กระผมนายนัฐพล การคณะวงศ์ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ sec 4 เรียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 15 มกราคม 2554 ที่ หอดู๊ดดรีม เวลา 16.14 น. คุณจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม
|
|
|
|
mongkhonphan
|
 |
« ตอบ #11 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 04:47:13 pm » |
|
นายมงคลพันธ์ แซ่หลี สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411039-4 sec.04 เลขที่ 32 เข้าตอบกรทู้วันที่ 15/01/54 เวลา 16.45 น. สถานที่ หอลากูน แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น และการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป คุณก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ หรือคุณจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
THANAKIT
|
 |
« ตอบ #12 เมื่อ: มกราคม 15, 2011, 09:54:09 pm » |
|
นายธนกฤต เฉื่อยฉ่ำ นศ.วิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัส 115340441248-4 รียนกับ ผศ.จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่วันที่ 15 มกราคม 2554 เวลา 21.55 น. สถานที่ บ้าน วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่าน ตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
tanongsak wachacama
|
 |
« ตอบ #13 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 10:58:16 am » |
|
กระผมนายทนงศักดิ์ เวชกามา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411016-2 กลุ่ม 53341cve sec04 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จรัส บุณยธรรมา ได้เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 16/01/2554 เวลา10.58 น. ที่spcondo ได้มีข้อคิดเห็นดังนี้ วิทยุแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆๆคือ เครื่องรับ เเละเครื่องส่ง เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุ ส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ
|
|
|
|
mildfunta
|
 |
« ตอบ #14 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 02:20:08 pm » |
|
นางสาวธัญลักษณ์ มิชัยยา เลขที่ 76 รหัส 1153109030607 sec 02 วันที่ 16 มกราคม 2554 เวลา 14.16 น. ณ หอในตึก 3แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
Chantana
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 02:39:46 pm » |
|
นางสาวฉันทนา ไกรสินธุ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 47 รหัส 115310903002-9 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 16/01/2554 เวลา 14:36 สถานที่ หอในตึก 3 สรุปได้ว่า แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
nutthaporn
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 05:32:16 pm » |
|
นางสาวณัฐพร พิศนุ sec 02 เลขที่ 17 รหัส 115110903030-4 วันที่ 16/01/2554 เวลา 17.33 สถานที่ หอ ZOOM
-หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
aimz
|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 06:22:04 pm » |
|
นางสาว สุภวรรณ เดชปรีดาผล รหัส 115110903068-4 sec.02
เข้าตอบกระทู้วันที่ 16-01-54 เวลา 18:21 น. ที่หอพัก
สรุปว่า...
หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
kitima
|
 |
« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 06:24:09 pm » |
|
นางสาว กิติมา รัตโนทัย เลขที่ 16 รหัส 115110903001-5 วันที่ 16 ม.ค. 54 เวลา 18.24 น. สถานที่ หอ zoom
ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุ ส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ
|
|
|
|
aomme
|
 |
« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 16, 2011, 09:26:45 pm » |
|
น.ส ศรัญญา เพชรแก้ว sec 02 เลขที่ 45 รหัส 115310903022-7 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 16/01/54 สถานที่ บ้านตัวเอง เวลา 21.25 น. เหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
Nitikanss
|
 |
« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 01:20:04 am » |
|
น.ส นิติการณ์ รัตนบุรี sec 02 เลขที่ 71 รหัส 115310903052-4 สาขา สถิติประยุกต์ วัน 17/01/54 สถานที่ Banoffee เวลา 01.19 น. เหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
alicenine
|
 |
« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 10:40:48 am » |
|
นายเลิศศักดิ์ ศัลยวิเศษ นักศึกษาคณะวิศกรรมศาสตร์ สาขาเคมีสิ่งทอ รหัส 115210452021-6 เลขที่ 35
ตอบกระทู้ เมื่อ 17/01/54 เวลา 10.40 น. ที่ หอพัก
มีความเห็นว่า...
การแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ คุณสามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้ หรือ จะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
bobo
|
 |
« ตอบ #22 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 10:48:16 am » |
|
นางสาว สุนิสา หมอยาดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 74รหัส 115310903055-7 วันที่ 17/01/2554 เวลา 10.47 สถานที่ บ้าน เหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
Mickey2010
|
 |
« ตอบ #23 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 11:05:15 am » |
|
นางสาวปัทมา วงษ์แก้วฟ้า รหัส115310903038-3 เลขที่61 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17 มกราคม 2554 เวลา 11.00 น. สถานที่บ้านของตนเอง สรุปได้ว่า แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
Nueng
|
 |
« ตอบ #24 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 01:18:30 pm » |
|
นางสาวสมฤดี สอนชอุ่ม เลขที่ 19 รหัส 115110903066-8 sec 02 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17 มกราคม 2554 เวลา 13.20 น. สถานที่ คณะวิทยฯ ได้สาระสำคัญดังนี้ ........ เหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
leonado_davinci
|
 |
« ตอบ #25 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 01:30:23 pm » |
|
Jakrapong Mensin นายจักรพงศ์ เม่นสิน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411015-4 sec 4 เลขที่ 12 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17/1/54 เวลา 1.29 pm ที่ห้องสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม จากที่ผ่านมาเราสามารถเข้าใจหลักการพื้นฐานของวิทยุได้ระดับหนึ่ง แม้จะเป็นสัญญาณที่ฟังไม่รู้เรื่องก็ตาม วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าคุณมีตาพิเศษ สามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้ คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น วิทยุ AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุ แต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน แต่ไม่ว่าอย่างไร สามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ดังนี้ -เครื่องส่ง -เครื่องรับ เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุ ส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ
|
|
|
|
namwhan
|
 |
« ตอบ #26 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 02:25:49 pm » |
|
นางสาวพรรณฐิณี โสภาวนัส รหัส115310903033-4 เลขที่56 sec02 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติประยุกต์ เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17 มกราคม 2554 เวลา 14.20 น. สถานที่ หอพักใน 2 สรุปได้ว่า แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
IIKWANGSTSTII
|
 |
« ตอบ #27 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 02:34:44 pm » |
|
นางสาวกิ่งกาญจน์ แสนคำ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติประยุกต์ sec 02 เลขที่ 54 รหัส 115310903031-8 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17/01/2554 เวลา 14.31 สถานที่ Shooter Internet แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น และการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าเราเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เราก็สามารถก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM ก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
Biwtiz
|
 |
« ตอบ #28 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 03:34:31 pm » |
|
น.ส กชพรรณ นาสวาสดิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาสถิติ รหัสนักศึกษา 115310903036-7 เลขที่ 59 sec 02 ตอบกระทู้วันที่ 17 ม.ค 54 เวลา 15.34 น. สถานที่ บ้านคลอง 6 สรุปได้ว่า หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
aecve
|
 |
« ตอบ #29 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 04:02:10 pm » |
|
กระผม นายปรัชญา พรมอารักษ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมโยธาต่อเนื่อง เลขที่ 26 sec. 4 รหัสประจำตัว 115330411032-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 17 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ หอพักโฟ บี 4 เวลา. 16.02 น มีความเห็น เครื่องรับวิทยุ แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
|