pichet
|
 |
« ตอบ #120 เมื่อ: มกราคม 20, 2011, 11:03:46 pm » |
|
กระผม นายพิเชษฐ์ จันทร์โสภา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา sec 4 รหัสประจำตัว 115330411044-4 เลขที่ 37 วันที่ 20/01/54 เวลา 23.06 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา การแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ คุณสามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
kangsachit
|
 |
« ตอบ #121 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 02:47:02 am » |
|
นายกังสชิต จิโน นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาโยธา รหัส 115330411017-0 sec 4 เลขที่ 14 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21/1/54 เวลา 02.47 น. หอมาลีแมนชั่น แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศ และส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
narongdach
|
 |
« ตอบ #122 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 03:16:24 am » |
|
นายณรงค์เดช เพ็งแจ่ม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441220-3 ตอบกระทู้วันที่ 21/01/54 เวลา 3:17 น. สถานที่ อพาร์ทเม้นต์ เอกภาคย์ เมืองเอก 1. เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ 2. ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ กรณีตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ 3. หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
mypomz
|
 |
« ตอบ #123 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 09:55:10 am » |
|
นายนพรัตน์ โตอิ่ม คณะวิศวกรรมโยธา รหัส 115330411040-2 เลขที่ 33 sec 4 ตอบกระทู้วันที่ 21 ม.ค. 56 เวลา 9.39 สถานที่ หอพัก
แบตเตอรี่ กับเหรียญบาท ทำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้สียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น ทำการส่งได้ไกล แต่ถ้าเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและสลับกันไป คุณก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสองและแตะสายไฟทั้งสองใกล้เครื่องรับวิทยุ AM ก็จะได้ยินเสียงเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในที่มืดขณะที่แตะสายไฟ จะเห็นประการไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
tongchai
|
 |
« ตอบ #124 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 01:10:29 pm » |
|
ผมนาย ธงชัย ฉิมสุด นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) sec 17 รหัส 115340441240-1 เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 มกราคม 2554 ณ หอพักโพธิ์ทอง เวลา 13.10 น
ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม
|
|
|
|
bankclash032
|
 |
« ตอบ #125 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 03:38:26 pm » |
|
กระผม นาย สุริยพงศ์ ทองคำ นักศึกษาคณะวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ sec 17 เลขที่ 24 รหัสประจำตัว115340441221-1 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา ตอบเมื่อวันที่ 21/1/54 เวลา15.38 น. ณ.หอประสงค์ สรุปว่า ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว ในส่วนของ แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น และการส่งทำได้ไม่ไกลนัก
|
|
|
|
attakron006@hotmail.com
|
 |
« ตอบ #126 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 04:18:03 pm » |
|
กระผม นาย อรรถกร จิตรชื่น นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441217-9 เลขที่ 22 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 16.18น. สถานที่ บ้านฟ้ารังสิต หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
รัฐพล เกตุอู่ทอง
|
 |
« ตอบ #127 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 07:51:43 pm » |
|
กระผม นายรัฐพล เกตุอู่ทอง นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441229-4 เลขที่ 26 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 19.51 น. สถานที่ หอพักเฉลิมพล
สรุปว่า
แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
sompol w. 53444 INE
|
 |
« ตอบ #128 เมื่อ: มกราคม 21, 2011, 11:21:38 pm » |
|
 กระผม นายสมพล วงศ์ไชย คณะ วิศวกรรมอุตสาหการ sec 17 รหัสนักศึกษา 115340441208-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้าตอบกระทู้วันที่ 21 เดือน มกราคม พศ.2554 ที่ จันทร์เพ็ญอพาร์ทเมนท์ เวลา 23:21 การแตะขั้วของแบต 9 โวลต์ด้วยเหรียญ คุณสามารถสร้างสัญญาณวิทยุ โดยที่เครื่องรับวิทยุ AM สามารถรับได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสอง และแตะสายไฟทั้งสอง ใกล้เครื่องรับวิทยุ AM คุณก็ได้ยินเสียงแคร็กๆอีกเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในห้องที่มืด ขณะที่แตะสายไฟ คุณจะเห็นประกายไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
LeeOa IE'53 SEC.17
|
 |
« ตอบ #129 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 05:31:13 pm » |
|
กระผม นาย สุธี มีอำมาตย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) เลขที่ 15 SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441205-4 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 5:37 PM. สถานที่บ้านพักที่วังน้อย มีความเห็นว่า วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
siwasit ridmahan
|
 |
« ตอบ #130 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 08:07:58 pm » |
|
นาย สิวะสิทธิ์ ฤทธิ์มะหันต์ เลขที่33 sec.17 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ รหัส 1153404412443เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 มกราคม 2554 เวลา 20.07 น. สถานที่ ร้านเน็ต
1. เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ 2. ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ กรณีตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ 3. หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
rungarun
|
 |
« ตอบ #131 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:15:55 pm » |
|
นายรุ่งอรุณ แย้มประดิษฐ์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาอุตสาหการ-การจัดการ sec 17 รหัสประจำตัว 115340441246-8 เลขที่ 36 วันที่ 21/01/54 เวลา 22.16 น.
หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
Prachija
|
 |
« ตอบ #132 เมื่อ: มกราคม 22, 2011, 10:26:19 pm » |
|
กระผม นาย ประชิด จันทร์พลงาม นักศึกษาคณะ วิศวกรรมโยธา sec 17 รหัสประจำตัว 115340411110-2 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุญยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 22 เดือน มกราคม พศ 2554 ที่ บ้านพัก เวลา 22.26 น. มีความเห็นว่า/มีข้อคิดเห็นว่า/ความรู้จากเนื้อหาที่ได้ คือ เหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าเราเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
hatorikung_nutt
|
 |
« ตอบ #133 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 12:44:15 am » |
|
นายพงษ์ศักดิ์ เลิศศรี นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 เลขที่19 รหัสประจำตัว115340441209-6 อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบกระทู้วันที่ 23/01/54 เวลา00.44 ณ หอพักวงษ์จินดา
เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุ ส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ
|
|
|
|
suradet phetcharat
|
 |
« ตอบ #134 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 12:53:52 am » |
|
นายสุรเดช เพ็ชรรัตน์ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมโยธา CVE2 Sec17 เลขที่ 9 รหัส 115340411115-1 ผศ.จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 23 มกราคม 2554 เวลา 00.53 น.Office สำนักงานบริษัทไทยวัฒน์ ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์ ทำหน้าที่เหมือนกับหัวเทียนในรถยนต์ ปัจจุบันการส่งสัญญาณโดยการสปาร์คแบบนี้ เลิกใช้แล้ว และถือว่าผิดกฎหมายด้วย เพราะว่ามันไปรบกวนการส่งสัญญาณวิทยุอื่น แต่ในยุคเริ่มต้น มันเป็นอุปกรณ์ที่แสดงถึงการส่งวิทยุได้อย่างยอดเยี่ยม
|
|
|
|
jackmaco
|
 |
« ตอบ #135 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 06:56:10 am » |
|
นายธีรพงษ์ ม้วนทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหการ-การจัดการ sec.17 รหัสประจำตัว115340441211-2 ตอบกระทู้วันที่ 23/01/54 เวลา 06:56 น. สถานที่ หอพัก เอื้อมเดือน
สรุป : ยุคแรกๆที่มีการส่งวิทยุ ตัวส่งเรียกว่า สปาร์คคอยส์ (spark coil ) แปลเป็นไทยได้ว่า คอยส์สร้างประกายไฟฟ้า มันจะสร้างประกายไฟฟ้าขึ้นอย่างต่อเนื่องด้วยแรงดันไฟฟ้าขนาด 20,000 โวลต์
|
|
|
|
satawat
|
 |
« ตอบ #136 เมื่อ: มกราคม 23, 2011, 06:00:56 pm » |
|
กระผม นาย ศตวรรษ รัตนภักดี นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ เลขที่ 34 SEC.02 รหัสประจำตัว 115210441263-8 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 18.00 สถานที่บ้าน มีความเห็นว่า หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
chatchai
|
 |
« ตอบ #137 เมื่อ: มกราคม 26, 2011, 04:35:43 pm » |
|
กระผม นาย ฉัตรชัย กล่อมเกลี้ยง นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ (สมทบ) SEC.17 รหัสประจำตัว 115340441232-8 เลขที่ 28 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26 เดือน มกราคม พศ.2554 เวลา 16.36 น. สถานที่ หอพัก 4B
สรุปว่า
วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่าน ตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
sodiss
|
 |
« ตอบ #138 เมื่อ: มกราคม 26, 2011, 05:49:18 pm » |
|
นาย ธรรมนันท์ เหมือนทิพย์ นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาตร์ สาขา อุตสาหการ-การจัดการ เลขที่ 27 SEC.02 รหัสประจำตัว 115210441248-9 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา เข้ามาตอบกระทู้วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2554 เวลา 17.49 น. สถานที่ หอพักบ้านดวงพร มีความเห็นว่า วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
Utchima
|
 |
« ตอบ #139 เมื่อ: มกราคม 30, 2011, 02:04:41 pm » |
|
นางสาวอัจจิมา แขกสะอาด นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิทยการคอมพิวเตอร์ รหัส 115110905096-3 sec.02 เลขที่23 ตอบกระทู้เมื่อ 30/01/54 สถานที่ บ้าน เวลา 13.30 น.
แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
m_japakiya
|
 |
« ตอบ #140 เมื่อ: มกราคม 31, 2011, 03:24:57 pm » |
|
นาย มูฮำหมัดนาวี จะปะกียา เลขที่ 2 sec 17 รหัส 115340411104-5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา ณ บ้าน จรัญสนิทวงศ์ 31-01-54 เวลา 15.24 น. เรียนกับอาจารย์ ผศ.จรัส บุณยธรรมา หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
chaiyun
|
 |
« ตอบ #141 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 04, 2011, 06:12:57 pm » |
|
นายชัยยันต์ นุยืนรัมย์ วิศวกรรมอุสาหการ-การจัดการ(สมทบ) รหัส 115340441215-3 Sec 17 เลขที่ 21 วันที่ 4 /2/54 เวลา 18.11 น. สถานที่ ห้องนวนคร สรุปได้ว่า.... หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ เครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
Kitiwat
|
 |
« ตอบ #142 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 02:07:01 am » |
|
นายกิติวัฒน์ ศรประสิทธิ์ เลขที่ 24 รหัส 115330411030-3 วิศวกรรมโยธา sec 4
วิทยุสมัยใหม่ ใช้สัญญาณคลื่นรูปไซน์ เพื่อส่งข้อมูลข่าวสาร (เสียง ภาพ และข้อมูล) ปัจจุบันมีการใช้สัญญาณจากเครื่องส่งมากมายหลายร้อยเครื่อง ถ้าุคุณมีตาพิเศษสามารถเห็นสัญญาณวิทยุได้คุณจะได้เห็นสัญญาณพวกนี้วิ่งผ่านตัวคุณวุ่นวายไปหมด เช่น AM และ FM ทีวีผ่านดาวเทียม วิทยุมือถือ และระบบ GPS เป็นต้น สัญญาณวิทยุแต่ละอันใช้ความถี่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็นสวนใหญ่ดังนี้ เครื่องส่ง และเครื่องรับ
|
|
|
|
udomporn
|
 |
« ตอบ #143 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2011, 03:46:48 pm » |
|
นาย อุดมพร พวงสุวรรณ วิศวกรรมโยธา 115330411025-3 เลขที่ 19 sec.04 วันที่ 10/2/54 เวลา 15.46 ณ.ที่หอลากูน
แบตเตอรี่ กับเหรียญบาททำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้เสียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้นและการส่งทำได้ไม่ไกลนัก แต่ถ้าคุณเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและยาวสลับกันไป เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในเสาอากาศมันจะสร้างสนามแม่เหล็กรอบเสาอากาศและส่งออกไปในอากาศสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก กลับไปกลับมาและวิ่งออกไปในอากาศด้วยความเร็วเท่าแสงเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทีเราเรียกว่า คลื่นวิทยุ
|
|
|
|
อภิรักษ์
|
 |
« ตอบ #144 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 01:27:43 am » |
|
นายอภิรักษ์ มีศิลป์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ-การจัดการ Sec.04 เรียนกับอาจารย์ จรัส บุณยธรรมา ตอบวันที่ 10 กุมภาพันธ์ เวลา 01:27 น. ที่หอพัก AP แมนชั่น มีความคิดเห็นว่า หลักการพื้นฐานของเครื่องรับส่งสัญญาณวิทยุ คือ ครื่องส่งแปลงข้อมูล ที่เป็นเสียง ภาพ ให้เป็นคลื่นรูปไซน์ และแปลงออกเป็นสัญญาณวิทยุส่งออกไปในอากาศ เครื่องรับจะรับสัญญาณวิทยุ และแปลงสัญญาณกลับไปเป็นเสียง และภาพ ทั้งเครื่องส่งและเครื่องรับใช้เสาอากาศในการแผ่และรับสัญญาณวิทยุ การรับส่งสัญญาณจะมี เสาอากาศของเครื่องรับ จะรับสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ สายอากาศของเครื่องรับแบบ AM เป็นสายไฟธรรมดา หรือแท่งโลหะก็ได้ ตัวจูนเนอร์ มีหน้าที่เลือกสัญญาณความถี่เดียวจากเสาอากาศ ในกรณีของตัวอย่างบน ตัวจูนเนอร์ จะรับสัญญาณความถี่ 680,000 เฮิรตซ์ หลักพื้นฐานของจูนเนอร์ คือ การเรโซแนนท์ หรือการกำทอน ซึ่งเกิดขึ้นที่ความถี่ค่าที่เราจูนไปหา การจูนก็คือการปรับค่าตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนำ ให้เกิดการกำทอนที่ความถี่ตรงสถานีที่ต้องการฟัง ในที่นี้คือ 680 กิโลเฮิรตซ์
|
|
|
|
aek cve rmutt
|
 |
« ตอบ #145 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 11, 2011, 02:20:33 am » |
|
นาย เอกชัย เสียงล้ำ 115330411046-9 sec 4 วิศวกรรมโยธา กลุ่ม 53341 เวลา 2.20 แบตเตอรี่ กับเหรียญบาท ทำหน้าที่เป็นเครื่องส่งสัญญาณวิทยุได้ แต่ให้สียงสัญญาณเป็นเสียงแคร็กๆเท่านั้น ทำการส่งได้ไกล แต่ถ้าเรียนรู้การส่งรหัสมอร์ส โดยการส่งเป็นสัญญาณสั้นและสลับกันไป คุณก็ใช้วิธีนี้ส่งสัญญาณได้ หรือจะต่อสายไฟจากขั้วของแบตทั้งสองและแตะสายไฟทั้งสองใกล้เครื่องรับวิทยุ AM ก็จะได้ยินเสียงเหมือนกัน แต่ถ้าทดลองในที่มืดขณะที่แตะสายไฟ จะเห็นประการไฟวาบขึ้น
|
|
|
|
|